ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดนนทบุรีเนื่องจากมีอัตราป่วยสูงเป็นอันดับ 1 ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 1 การวิจัยเชิงอรรถาธิบายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัยในจังหวัดนนทบุรี ประชากรที่ใช้ ในการศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จิรัฎฐ์ ไชยฤทธิ์, วงเดือน ปั้นดี, สุภาวดี บุญชื่น, พีระ ครึกครื้นจิตร, Jirat Chaiyarit, Wongdyan Pandii, Supawadee Boonchuen, Peera Kruegkruenjit
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
Format: Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63104
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63104
record_format dspace
spelling th-mahidol.631042023-03-31T02:17:25Z ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี Effectiveness of Subdistrict Health Office in Controlling Dengue Hemorrhagic Fever Vector in Nonthaburi Province จิรัฎฐ์ ไชยฤทธิ์ วงเดือน ปั้นดี สุภาวดี บุญชื่น พีระ ครึกครื้นจิตร Jirat Chaiyarit Wongdyan Pandii Supawadee Boonchuen Peera Kruegkruenjit มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาปรสิตวิทยาและกีฏวิทยา โรคไข้เลือดออก พาหะนำโรค Thai Journal of Health Education โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดนนทบุรีเนื่องจากมีอัตราป่วยสูงเป็นอันดับ 1 ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 1 การวิจัยเชิงอรรถาธิบายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัยในจังหวัดนนทบุรี ประชากรที่ใช้ ในการศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลที่รับผิดชอบงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยเป็นตัวแทนของ สถานีอนามัยในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 75 แห่ง ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบกรอกรายการด้วยตนเอง แบบสอบถามตอบกลับสมบูรณ์ร้อยละ 100 จากการศึกษาพบว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลที่ รับผิดชอบงาน ร้อยละ 50.7 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 40.3 ปี เกือบทั้งหมด (ร้อยละ 90.6) จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ระยะเวลารับผิดชอบงานเฉลี่ย 9.1 ปี มีจำนวนหมู่บ้านในความรับผิดชอบเฉลี่ย 4.6 หมู่บ้าน มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบเฉลี่ย 7.0 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบ ไคสแควร์ และ t-test ผลการศึกษา พบว่า เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลที่รับผิดชอบงานส่วนใหญ่ (ร้อยละ 53.4) มี ความรู้เกี่ยวกับมาตรการควบคุมพาหะนำโรคในระดับพอใช้ สถานีอนามัยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 66.7) มีประสิทธิผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดี เมื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับประสิทธิผลการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) คือ เพศ ระยะเวลาที่รับผิดชอบงาน และการมีส่วนร่วมของชุมชน Dengue hemorrhagic fever (DHF),a critical public health problem of Nonthaburi Province, was first ranking in its morbidity rate among the provinces occupied zone 1 of Communicable Disease Control Region. This explanatory research aimed at studying the effectiveness of the subdistrict health office in controlling DHF vectors in Nonthaburi Province. The sample group used for the study was the subdistrict officers responsible for DHF vector control, representing 75 subdistrict health offices in Nonthaburi Province. Questionaires were used to collect data and were returned at a rate of 100%. It was found that 50.7% of the subdistrict officers were male. Their average age was 40.3 years. Most (90.6%) graduated with a Bachelor’s degree. The average year responsible in vector control was 9.1. Each officer was responsible for an average of 4.6 villages. There was an average of 7.0 DHF patients in each responsibility area. Data were analysed by using Chi – square test and t-test. The results showed that most subdistrict officers (53.4%) contained a fair knowledge of the criteria for DHF vectors control. Most of them (66.7%) had a good effectiveness level in controlling DHF vectors. It was found that factors which related to the effectiveness of subdistrict health offices with a statistical significance (p<0.05), were female officers and a longer duration of DHF vector control responsibility. 2021-08-11T06:58:11Z 2021-08-11T06:58:11Z 2564-08-11 2554 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 34, ฉบับที่ 119 (ก.ค.- ธ.ค. 2554), 68-78 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63104 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic โรคไข้เลือดออก
พาหะนำโรค
Thai Journal of Health Education
spellingShingle โรคไข้เลือดออก
พาหะนำโรค
Thai Journal of Health Education
จิรัฎฐ์ ไชยฤทธิ์
วงเดือน ปั้นดี
สุภาวดี บุญชื่น
พีระ ครึกครื้นจิตร
Jirat Chaiyarit
Wongdyan Pandii
Supawadee Boonchuen
Peera Kruegkruenjit
ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี
description โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของจังหวัดนนทบุรีเนื่องจากมีอัตราป่วยสูงเป็นอันดับ 1 ในพื้นที่สาธารณสุขเขต 1 การวิจัยเชิงอรรถาธิบายนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลการดำเนินงาน ควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัยในจังหวัดนนทบุรี ประชากรที่ใช้ ในการศึกษา คือ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลที่รับผิดชอบงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออก โดยเป็นตัวแทนของ สถานีอนามัยในจังหวัดนนทบุรี จำนวน 75 แห่ง ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบกรอกรายการด้วยตนเอง แบบสอบถามตอบกลับสมบูรณ์ร้อยละ 100 จากการศึกษาพบว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลที่ รับผิดชอบงาน ร้อยละ 50.7 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 40.3 ปี เกือบทั้งหมด (ร้อยละ 90.6) จบการศึกษาระดับ ปริญญาตรี ระยะเวลารับผิดชอบงานเฉลี่ย 9.1 ปี มีจำนวนหมู่บ้านในความรับผิดชอบเฉลี่ย 4.6 หมู่บ้าน มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบเฉลี่ย 7.0 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบ ไคสแควร์ และ t-test ผลการศึกษา พบว่า เจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลที่รับผิดชอบงานส่วนใหญ่ (ร้อยละ 53.4) มี ความรู้เกี่ยวกับมาตรการควบคุมพาหะนำโรคในระดับพอใช้ สถานีอนามัยส่วนใหญ่ (ร้อยละ 66.7) มีประสิทธิผลการดำเนินงานอยู่ในระดับดี เมื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ กับประสิทธิผลการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) คือ เพศ ระยะเวลาที่รับผิดชอบงาน และการมีส่วนร่วมของชุมชน
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
จิรัฎฐ์ ไชยฤทธิ์
วงเดือน ปั้นดี
สุภาวดี บุญชื่น
พีระ ครึกครื้นจิตร
Jirat Chaiyarit
Wongdyan Pandii
Supawadee Boonchuen
Peera Kruegkruenjit
format Article
author จิรัฎฐ์ ไชยฤทธิ์
วงเดือน ปั้นดี
สุภาวดี บุญชื่น
พีระ ครึกครื้นจิตร
Jirat Chaiyarit
Wongdyan Pandii
Supawadee Boonchuen
Peera Kruegkruenjit
author_sort จิรัฎฐ์ ไชยฤทธิ์
title ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี
title_short ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี
title_full ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี
title_fullStr ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี
title_full_unstemmed ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี
title_sort ประสิทธิผลการดำเนินงานควบคุมพาหะนำโรคไข้เลือดออกของสถานีอนามัย ในจังหวัดนนทบุรี
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63104
_version_ 1763491998070734848