การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการควบคุมลูกน้ำยุงลายของแกนนำครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างเป็นแกนนำครัวเรือนในเขตเทศบาลตำบล บ้านแหลม อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 66 คน ได้รับกิจกรรมตามโปรแกรมการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กิจกรรมเริ่มจากก...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63212 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.63212 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การมีส่วนร่วมของชุมชน การควบคุมลูกน้ำยุงลาย Thai Journal of Health Education |
spellingShingle |
การมีส่วนร่วมของชุมชน การควบคุมลูกน้ำยุงลาย Thai Journal of Health Education กรุณภรณ์ หมวกกุล นิรัตน์ อิมามี มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุภาวดี บุญชื่น Karunaphon Maugkul Nirat Imamee Manirat Therawiwat Supawadee Boonchuen การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี |
description |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชน
ในการควบคุมลูกน้ำยุงลายของแกนนำครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างเป็นแกนนำครัวเรือนในเขตเทศบาลตำบล
บ้านแหลม อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 66 คน ได้รับกิจกรรมตามโปรแกรมการ
เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กิจกรรมเริ่มจากการสร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการควบคุมลูกน้ำ
ยุงลาย สร้างการรับรู้โอกาสเสี่ยงและการรับรู้ความรุนแรงของโรคไข้เลือดออก การรับรู้ความสามารถตนเอง
ในการควบคุมลูกน้ำยุงลายและพฤติกรรมการควบคุมลูกน้ำยุงลาย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์
และแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย ก่อนและหลังการทดลอง นำมาวิเคราะห์หา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน ทดสอบสถิติด้วย Paired Samples t – test และ Z - test
ผลการวิจัยพบว่าภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและ
การควบคุมลูกน้ำยุงลาย การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคไข้เลือดออก การรับรู้ความรุนแรงของการเกิด
โรคไข้เลือดออก และการรับรู้ความสามารถตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผล
การวิจัยแสดงให้เห็นว่า การจัดโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย มีส่วนช่วย
ส่งเสริมให้แกนนำครัวเรือนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ข้อเสนอแนะจากการวิจัย
โปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุม
ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่อื่นที่มีลักษณะสภาพความเป็นอยู่ที่คล้ายกัน โดยการควบคุมลูกน้ำยุงลายควรเน้น
ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้วยตนเอง และหน่วยงานสาธารณสุข อบต. หรือ เทศบาล
ตำบล ควรมีระบบสนับสนุนให้ชุมชนดำเนินการควบคุมลูกน้ำยุงลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ กรุณภรณ์ หมวกกุล นิรัตน์ อิมามี มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุภาวดี บุญชื่น Karunaphon Maugkul Nirat Imamee Manirat Therawiwat Supawadee Boonchuen |
format |
Article |
author |
กรุณภรณ์ หมวกกุล นิรัตน์ อิมามี มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุภาวดี บุญชื่น Karunaphon Maugkul Nirat Imamee Manirat Therawiwat Supawadee Boonchuen |
author_sort |
กรุณภรณ์ หมวกกุล |
title |
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี |
title_short |
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี |
title_full |
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี |
title_fullStr |
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี |
title_full_unstemmed |
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี |
title_sort |
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี |
publishDate |
2021 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63212 |
_version_ |
1763496491343675392 |
spelling |
th-mahidol.632122023-03-30T12:40:03Z การมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย จังหวัดสุพรรณบุรี Community Participation for Aedes Larvae Control, Suphanburi Province กรุณภรณ์ หมวกกุล นิรัตน์ อิมามี มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ สุภาวดี บุญชื่น Karunaphon Maugkul Nirat Imamee Manirat Therawiwat Supawadee Boonchuen มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาปรสิตวิทยา การมีส่วนร่วมของชุมชน การควบคุมลูกน้ำยุงลาย Thai Journal of Health Education การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการควบคุมลูกน้ำยุงลายของแกนนำครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างเป็นแกนนำครัวเรือนในเขตเทศบาลตำบล บ้านแหลม อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 66 คน ได้รับกิจกรรมตามโปรแกรมการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม กิจกรรมเริ่มจากการสร้างเสริมความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการควบคุมลูกน้ำ ยุงลาย สร้างการรับรู้โอกาสเสี่ยงและการรับรู้ความรุนแรงของโรคไข้เลือดออก การรับรู้ความสามารถตนเอง ในการควบคุมลูกน้ำยุงลายและพฤติกรรมการควบคุมลูกน้ำยุงลาย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ และแบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย ก่อนและหลังการทดลอง นำมาวิเคราะห์หา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ทดสอบสถิติด้วย Paired Samples t – test และ Z - test ผลการวิจัยพบว่าภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและ การควบคุมลูกน้ำยุงลาย การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคไข้เลือดออก การรับรู้ความรุนแรงของการเกิด โรคไข้เลือดออก และการรับรู้ความสามารถตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จากผล การวิจัยแสดงให้เห็นว่า การจัดโปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการควบคุมลูกน้ำยุงลาย มีส่วนช่วย ส่งเสริมให้แกนนำครัวเรือนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุมลูกน้ำยุงลาย ข้อเสนอแนะจากการวิจัย โปรแกรมการมีส่วนร่วมของชุมชนนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการควบคุม ลูกน้ำยุงลายในพื้นที่อื่นที่มีลักษณะสภาพความเป็นอยู่ที่คล้ายกัน โดยการควบคุมลูกน้ำยุงลายควรเน้น ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมด้วยตนเอง และหน่วยงานสาธารณสุข อบต. หรือ เทศบาล ตำบล ควรมีระบบสนับสนุนให้ชุมชนดำเนินการควบคุมลูกน้ำยุงลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ This study was a quasi-experimental research aiming to study the effectiveness of the community participation program for Aedes larvae control of household leaders. The samples were composed of 66 household leaders in municipal areas, Banlam Subdistrict, Bangplama, District, Suphanburi Province. These household leaders have participated in learning development activities in accordance with the program, including enhancing knowledge about hemorrhagic fever and Aedes larvae control, developing perceived susceptibility and sevenrity of hemorrhagic fever, perceived self-efficacy in Aedes larvae control and Aedes larvae control behavior. The data were collected by scheduled interviews and survey forms, before and after the experiment. The data were analyzed by computing percentage, arithmetic mean and standard deviation, and statistical analysis was done using Paired Samples, t-test, and Z-test. The results showed that after the experiment, the experimental group had significantly higher mean scores of knowledge about hemorrhagic fever and Aedes larvae control, perceived susceptibility of hemorrhagic fever, perceived severity of hemorrhagic fever, and perceived self-efficacy than before the program. The results revealed that the community participation program for Aedes larvae control was effective in promoting household leaders to change their Aedes larvae control behaviors. The recommendations were that this type of community participation program should be applied for Aedes larvae control in other similar areas and emphasis should be placed on community participation in implementation of the program activities. Pulbic health unit in the Subdistrict Administration Organization or the Subdistrict Municipality should develop a system that supports the community to control Aedes larvae effectively 2021-08-23T02:44:03Z 2021-08-23T02:44:03Z 2564-08-23 2554 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 34, ฉบับที่ 117 (ม.ค.- เม.ย. 2554), 38-50 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63212 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |