ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปัญหาสุขภาพจิตเป็นปัญหาที่สำคัญในปัจจุบัน นักศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องเผชิญกับปัญหาดังกล่าว เป็นจำนวนมาก โรคที่พบบ่อย เช่น โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า ปัญหาการใช้สารเสพติด ระบบการดูแล สุขภาพจิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยโดยส่วนใหญ่เป็น รูปแบบของศูนย์ให้คำปรึกษา ซึ่งนักศึกษาใช้บริการ น้อยกว่าปัญหาจริงที่ม...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63660 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.63660 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
สุขภาพจิตนักศึกษา โครงการมหิดลเฟรนด์ ทัศนคติ แรงจูงใจ Students’ mental health Mahidol Friends Project Attitude Motivation |
spellingShingle |
สุขภาพจิตนักศึกษา โครงการมหิดลเฟรนด์ ทัศนคติ แรงจูงใจ Students’ mental health Mahidol Friends Project Attitude Motivation สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข พัชรินทร์ เสรี แกมแก้ว โบษกรนัฏ Somboon Hataiyusuk Patcharin Seree Kamkaew Bosagaranut ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
description |
ปัญหาสุขภาพจิตเป็นปัญหาที่สำคัญในปัจจุบัน
นักศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องเผชิญกับปัญหาดังกล่าว
เป็นจำนวนมาก โรคที่พบบ่อย เช่น โรควิตกกังวล
โรคซึมเศร้า ปัญหาการใช้สารเสพติด ระบบการดูแล
สุขภาพจิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยโดยส่วนใหญ่เป็น
รูปแบบของศูนย์ให้คำปรึกษา ซึ่งนักศึกษาใช้บริการ
น้อยกว่าปัญหาจริงที่มีอยู่ เนื่องจากปัจจัยด้านการตีตรา
เวลารอรับบริการ และความไม่สะดวกสบายต่างๆ
มหาวิทยาลัยมหิดลจึงจัดโครงการมหิดลเฟรนด์
ให้กับนักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน
เพื่อให้ความรู้สุขภาพจิต ฝึกทักษะการให้คำปรึกษา
และแนวทางการส่งต่อ โดยมุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมโครงการ
สังเกต ช่วยเหลือ นักศึกษาที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้
อย่างเหมาะสม งานวิจัยนี้ทำการศึกษาทัศนคติและ
แรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตของนักศึกษา
กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557-2562 แบ่งเป็น นักศึกษาจำนวน
39 คน และอาจารย์หรือเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน
จำนวน 64 คน โดยใช้แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล
แบบสอบถามทัศนคติในการทำงานดูแลสุขภาพใจ
นักศึกษา และแบบสอบถามแรงจูงใจในการทำงานดูแล
สุขภาพใจนักศึกษา (ฉบับนักศึกษา), (ฉบับอาจารย์/
เจ้าหน้าที่สายสนับสนุน) ผลการศึกษาพบว่าทัศนคติ
ในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของนักศึกษา
อยู่ในระดับมากที่สุด (Mean 3.34, SD 0.32)
ส่วนอาจารย์/เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนอยู่ในระดับมาก
(Mean 3.15, SD 0.32) แรงจูงใจในการทำงาน
ด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของนักศึกษาและอาจารย์/
เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนอยู่ในระดับมาก (Mean 3.10,
SD 0.29 และ Mean 3.03, SD 0.36 ตามลำดับ)
ทัศนคติกับแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิต
นักศึกษาของนักศึกษา และอาจารย์/เจ้าหน้าที่สาย
สนับสนุน มีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกระดับ
ปานกลาง (r = 0.563, p < 0.001) (r = 0.670,
p < 0.001) ควรคำนึงถึงปัจจัยทัศนคติและแรงจูงใจ
ของผู้เข้าร่วมในทุกกลุ่มเพื่อพัฒนาระบบดูแลและ
ช่วยเหลือนักศึกษาด้านสุขภาพจิตให้เกิดระบบที่ยั่งยืน
ต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข พัชรินทร์ เสรี แกมแก้ว โบษกรนัฏ Somboon Hataiyusuk Patcharin Seree Kamkaew Bosagaranut |
format |
Original Article |
author |
สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข พัชรินทร์ เสรี แกมแก้ว โบษกรนัฏ Somboon Hataiyusuk Patcharin Seree Kamkaew Bosagaranut |
author_sort |
สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข |
title |
ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_short |
ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full |
ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_fullStr |
ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_full_unstemmed |
ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
title_sort |
ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล |
publishDate |
2021 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63660 |
_version_ |
1763494293035548672 |
spelling |
th-mahidol.636602023-03-30T18:29:58Z ทัศนคติ และแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ มหาวิทยาลัยมหิดล Attitude and Motivation towards Mental Health Work in Participants of Mahidol Friends Project, Thailand สมบูรณ์ หทัยอยู่สุข พัชรินทร์ เสรี แกมแก้ว โบษกรนัฏ Somboon Hataiyusuk Patcharin Seree Kamkaew Bosagaranut มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองกิจการนักศึกษา สุขภาพจิตนักศึกษา โครงการมหิดลเฟรนด์ ทัศนคติ แรงจูงใจ Students’ mental health Mahidol Friends Project Attitude Motivation ปัญหาสุขภาพจิตเป็นปัญหาที่สำคัญในปัจจุบัน นักศึกษาระดับอุดมศึกษาต้องเผชิญกับปัญหาดังกล่าว เป็นจำนวนมาก โรคที่พบบ่อย เช่น โรควิตกกังวล โรคซึมเศร้า ปัญหาการใช้สารเสพติด ระบบการดูแล สุขภาพจิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัยโดยส่วนใหญ่เป็น รูปแบบของศูนย์ให้คำปรึกษา ซึ่งนักศึกษาใช้บริการ น้อยกว่าปัญหาจริงที่มีอยู่ เนื่องจากปัจจัยด้านการตีตรา เวลารอรับบริการ และความไม่สะดวกสบายต่างๆ มหาวิทยาลัยมหิดลจึงจัดโครงการมหิดลเฟรนด์ ให้กับนักศึกษา อาจารย์ และเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน เพื่อให้ความรู้สุขภาพจิต ฝึกทักษะการให้คำปรึกษา และแนวทางการส่งต่อ โดยมุ่งหวังให้ผู้เข้าร่วมโครงการ สังเกต ช่วยเหลือ นักศึกษาที่มีปัญหาสุขภาพจิตได้ อย่างเหมาะสม งานวิจัยนี้ทำการศึกษาทัศนคติและ แรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิตของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เข้าร่วมโครงการมหิดลเฟรนด์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557-2562 แบ่งเป็น นักศึกษาจำนวน 39 คน และอาจารย์หรือเจ้าหน้าที่สายสนับสนุน จำนวน 64 คน โดยใช้แบบสอบถามปัจจัยส่วนบุคคล แบบสอบถามทัศนคติในการทำงานดูแลสุขภาพใจ นักศึกษา และแบบสอบถามแรงจูงใจในการทำงานดูแล สุขภาพใจนักศึกษา (ฉบับนักศึกษา), (ฉบับอาจารย์/ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุน) ผลการศึกษาพบว่าทัศนคติ ในการทำงานด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของนักศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด (Mean 3.34, SD 0.32) ส่วนอาจารย์/เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนอยู่ในระดับมาก (Mean 3.15, SD 0.32) แรงจูงใจในการทำงาน ด้านสุขภาพจิตนักศึกษาของนักศึกษาและอาจารย์/ เจ้าหน้าที่สายสนับสนุนอยู่ในระดับมาก (Mean 3.10, SD 0.29 และ Mean 3.03, SD 0.36 ตามลำดับ) ทัศนคติกับแรงจูงใจในการทำงานด้านสุขภาพจิต นักศึกษาของนักศึกษา และอาจารย์/เจ้าหน้าที่สาย สนับสนุน มีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกระดับ ปานกลาง (r = 0.563, p < 0.001) (r = 0.670, p < 0.001) ควรคำนึงถึงปัจจัยทัศนคติและแรงจูงใจ ของผู้เข้าร่วมในทุกกลุ่มเพื่อพัฒนาระบบดูแลและ ช่วยเหลือนักศึกษาด้านสุขภาพจิตให้เกิดระบบที่ยั่งยืน ต่อไป Mental health disorders are highly prevalent and are a serious problem among university students. Common psychiatric disorders among university students are anxiety, depression and substance use leading to loss of health, economy and society. The most negative outcome is suicide, which has been continuously increasing. There are many mental health problems, but access to mental health services is low. Some university personnel tend to have negative attitudes towards students with mental health problems. Mahidol University addresses the importance of this problem. The Mahidol Friends Project was established in 2014 to provide knowledge about mental health and develop counselling skills and skills of referral practice among both students and university workers including academic and other supporting staff. The objective of this study was to investigate attitude and motivation, and to clarify the relationship between attitude and motivation in mental health work among participants at the Mahidol Friends project between 2014 and 2019. This study was approved by Mahidol University Central Institutional Review Board. The study used a cross-sectional descriptive design. Data about personal factors, attitudes and motivation factors towards mental health work were obtained from all participants by using questionnaires. There were two versions of the questionnaire; one for student use and one for staff use. All the questionnaires were developed by the researchers using reliable methods, and Cronbach alpha coefficient values were obtained. Data were collected using Google form questionnaires which were sent to participants via email and LINE application. Data were presented by using frequency distribution, mean, percentage, and standard deviation. Pearson’s correlation was applied to find the relationship between variables at a significance level of 0.05. Participants included 39 students and 64 academic or supporting staff who participated in the Mahidol Friends Project between 2014 and 2019. The highest level of attitudes towards mental health work was found among the students (Mean score 3.34, SD 0.32). High levels of attitude towards mental health work were also found among academic/ supporting staff (Mean score 3.15, SD 0.32). Both the students and academic/supporting staff showed a high level of motivation towards mental health work (Mean score, SD: 3.10, 0.29 and 3.03, 0.36; respectively). Attitudes and motivational factors towards mental health work for all participants were positively and moderately associated (r = 0.563, p = <0.001 and r = 0.670, p = <0.001, respectively). Most of the participants were from the 2019 program. The results revealed high levels of attitude and motivation and its relationships among the participants of the program. It was found that the attitudes of students and staff were slightly different, while there was no difference in motivation. A moderate relationship between attitude and motivation was found, however, this requires further study. This study’s strengths are different from those of other research which mostly focused on students with mental health problems. Its limitation is that there are some missing data from the participants who took part in the project between 2014 and 2017. In conclusion, the attitudes and motivation of participants in all groups should be considered, in order to develop a sustainable system and help the mental health of students. 2021-09-24T07:45:34Z 2021-09-24T07:45:34Z 2564-09-24 2563 Original Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 51, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2563), 226-240 2697-584X (Print) 2697-5866 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63660 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล กองกิจการนักศึกษา สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |