โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การวิจัยกึ่งทดลองนี้เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม ส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์ การกำกับตนเอง และแรงสนับสนุนจากครอบครัว ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ศึกษาแบบกลุ่มทดลอง กลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุระหว่าง 35-70 ปี จำนวน 30 คน ซึ่งได...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63712 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.63712 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.637122023-03-30T14:25:58Z โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Nutrition Promotion Program: Reducing Sugar, Fat, and Salt Intake Applying Self-Regulation and Family Support among Patients with Type 2 Diabetes อุมาลี ธรศรี พัชราณี ภวัตกุล มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ กานดาวสี มาลีวงษ์ Umalee Thonsri Patcharanee Pavadhgul Manirat Therawiwat Kandavasee Maleevong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 การกำกับตนเอง แรงสนับสนุนจากครอบครัว type 2 diabetes self-regulation family support การวิจัยกึ่งทดลองนี้เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม ส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์ การกำกับตนเอง และแรงสนับสนุนจากครอบครัว ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ศึกษาแบบกลุ่มทดลอง กลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุระหว่าง 35-70 ปี จำนวน 30 คน ซึ่งได้รับโปรแกรมเป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์พฤติกรรม การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม แบบประเมินความรู้ เกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน และอาหารสำหรับผู้ป่วย เบาหวาน และแบบบันทึกอาหารบริโภคประจำวัน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired T-test ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง มีค่าเฉลี่ยความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ดีขึ้นมากกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.001) ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำตาล น้ำมัน เกลือบริโภคต่อวัน ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหาร และดัชนีมวลกายลดลงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติ (p<0.05) การจัดโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกำกับตนเอง และ แรงสนับสนุนจากครอบครัว มีผลทำให้ผู้ป่วยโรค เบาหวานชนิดที่ 2 มีพฤติกรรมการบริโภภคอาหารที่ดีขึ้น ดังนั้นโปรแกรมนี้อาจนำไปประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังประเภทอื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน เพื่อนำไปสู่ การมีคุณภาพชีวิตที่ดี This quasi-experimental research aimed to assess the effectiveness of a nutrition promotion program: reducing sugar, fat, and salt intake applying self-regulation and family support among patients with Type 2 diabetes. The sample totaled 30 individuals with Type 2 diabetes, aged 35-70 years. The subjects participated in a nutrition promotion program to reduce sugar, fat, and salt intake lasting 12 weeks. Data was collected using an interviewing schedule and food record. The paired t-test was used to determine the difference between mean knowledge score and appropriate food consumption before and after the experiment. After the experiment, mean scores of appropriate food consumption behavior and knowledge of Type 2 diabetes complications and diet were better than before the experiment (p<0.001). The daily average sugar, fat, and salt intake, average fasting blood sugar level and body mass index were significantly lower than before the experiment (p<0.05). Thus, this study’s nutrition promotion program reduced sugar, fat, and salt intake applying self-regulation and social support from family members and positively affected food consumption behaviors among patients with Type 2 diabetes. Therefore, applying this program among patients with NCDs promoted appropriate food consumption behaviors sustainably for a higher quality of life. 2021-09-28T06:55:52Z 2021-09-28T06:55:52Z 2564-09-28 2561 Original Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 48, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 284-295 2697-584X (Print) 2697-5866 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63712 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 การกำกับตนเอง แรงสนับสนุนจากครอบครัว type 2 diabetes self-regulation family support |
spellingShingle |
ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 การกำกับตนเอง แรงสนับสนุนจากครอบครัว type 2 diabetes self-regulation family support อุมาลี ธรศรี พัชราณี ภวัตกุล มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ กานดาวสี มาลีวงษ์ Umalee Thonsri Patcharanee Pavadhgul Manirat Therawiwat Kandavasee Maleevong โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
description |
การวิจัยกึ่งทดลองนี้เพื่อศึกษาผลของโปรแกรม
ส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์
การกำกับตนเอง และแรงสนับสนุนจากครอบครัว
ในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ศึกษาแบบกลุ่มทดลอง
กลุ่มเดียว วัดผลก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง
คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุระหว่าง 35-70 ปี
จำนวน 30 คน ซึ่งได้รับโปรแกรมเป็นระยะเวลา
12 สัปดาห์ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์พฤติกรรม
การบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม แบบประเมินความรู้
เกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน และอาหารสำหรับผู้ป่วย
เบาหวาน และแบบบันทึกอาหารบริโภคประจำวัน
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Paired T-test
ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่าง
มีค่าเฉลี่ยความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน
มัน เค็ม ดีขึ้นมากกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p<0.001) ค่าเฉลี่ยปริมาณน้ำตาล น้ำมัน
เกลือบริโภคต่อวัน ระดับน้ำตาลในเลือดก่อนอาหาร
และดัชนีมวลกายลดลงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ (p<0.05) การจัดโปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ:
ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกำกับตนเอง และ
แรงสนับสนุนจากครอบครัว มีผลทำให้ผู้ป่วยโรค
เบาหวานชนิดที่ 2 มีพฤติกรรมการบริโภภคอาหารที่ดีขึ้น
ดังนั้นโปรแกรมนี้อาจนำไปประยุกต์ใช้ในการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังประเภทอื่น ๆ อย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน เพื่อนำไปสู่
การมีคุณภาพชีวิตที่ดี |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยา อุมาลี ธรศรี พัชราณี ภวัตกุล มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ กานดาวสี มาลีวงษ์ Umalee Thonsri Patcharanee Pavadhgul Manirat Therawiwat Kandavasee Maleevong |
format |
Original Article |
author |
อุมาลี ธรศรี พัชราณี ภวัตกุล มณีรัตน์ ธีระวิวัฒน์ กานดาวสี มาลีวงษ์ Umalee Thonsri Patcharanee Pavadhgul Manirat Therawiwat Kandavasee Maleevong |
author_sort |
อุมาลี ธรศรี |
title |
โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
title_short |
โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
title_full |
โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
title_fullStr |
โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
title_full_unstemmed |
โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
title_sort |
โปรแกรมส่งเสริมโภชนาการ: ลดหวาน มัน เค็ม ประยุกต์การกํากับตนเองและแรงสนับสนุนจากครอบครัวในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 |
publishDate |
2021 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63712 |
_version_ |
1763495262048747520 |