ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงอรรถาธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำาบลในเขตบริการสุขภาพ (รพ.สต.) ที่ 5 โดยปัจจัย ที่ศึกษา ได้แก่ การรับรู้ความสามารถในตนเองและ การจัดการแบบมีส่ว...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กษิรา โพรามาต, ภูษิตา อินทรประสงค์, ยุวนุช สัตยสมบูรณ์, จุฑาธิป ศีลบุตร, Kasira Poramat, Bhusita Intraprasong, Youwanuch Sattayasomboon, Jutatip Sillabutra
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2021
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63742
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63742
record_format dspace
spelling th-mahidol.637422023-03-31T03:44:51Z ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5 Factors Related to the Effectiveness of Developmental Surveillance and Promotion of Children from Birth to 5 years in a Tambon Health Promoting Hospital of Public Health Service Provider Region 5 กษิรา โพรามาต ภูษิตา อินทรประสงค์ ยุวนุช สัตยสมบูรณ์ จุฑาธิป ศีลบุตร Kasira Poramat Bhusita Intraprasong Youwanuch Sattayasomboon Jutatip Sillabutra มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติ ประสิทธิผล, การรับรู้ความสามารถในตนเอง, การจัดการแบบมีส่วนร่วม การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก effectiveness, self-efficacy participatory management surveillance and promotion of children development การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงอรรถาธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำาบลในเขตบริการสุขภาพ (รพ.สต.) ที่ 5 โดยปัจจัย ที่ศึกษา ได้แก่ การรับรู้ความสามารถในตนเองและ การจัดการแบบมีส่วนร่วม เก็บข้อมูลด้วยการใช้ แบบสอบถามกับบุคลากรที่รับผิดชอบงานพัฒนาการ เด็กของ รพ.สต. จำานวน 398 คน ได้รับแบบสอบถาม ตอบกลับและมีความสมบูรณ์พร้อมวิเคราะห์ จำานวน 301 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและถดถอยพหุ ผลการวิจัย พบว่า รพ.สต.มีประสทิ ธผิ ลฯอยู่ในระดับมาก บุคลากร ของรพ.สต.มีระดับการรับรู้ความสามารถในตนเอง และการจัดการแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก การรับรู้ ความสามารถและการจัดการแบบมีส่วนร่วมในตนเอง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลฯ (r = 0.169, และ r = 0.56 ตามลำาดับ) มีความสัมพันธ์ทางบวก กับประสิทธิผลฯ การรับรู้ความสามารถในตนเองและ การจัดการแบบมีส่วนร่วมสามารถร่วมกันอธิบาย ความผันแปรของประสิทธิผลฯ ได้ร้อยละ 32.0 (Adjusted R2 = 0.320, p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้ ผู้บริหารควรกำาหนดนโยบายการเสริมสร้างประสบการณ์ ในการตัดสินใจ และการเสริมสร้างระบบที่ปรึกษา ด้านวิชาการสู่การปฏิบัติ เพื่อให้บุคลากรเขตบริการ สุขภาพที่ 5 ปฏิบัติงานพัฒนาการเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนางานให้เกิดคุณภาพยิ่งขึ้น This research was an explanatory cross-sectional study aiming to study factors regarding the effectiveness of developmental surveillance and promotion of children from birth to 5 years in a tambon health promoting hospital of Public Health Service Provider Region 5. The sample comprised 398 staff with responsibility on surveillance and promotion of children from birth to 5 years. Only 301 of questionnaire were completed and used in the analysis. Descriptive statistics, Pearson's correlation and multiple regression were used in the analysis. The results revealed that the effectiveness of developmental surveillance and promotion of children from birth to 5 years old in a tambon health promoting hospital was high. Self-efficacy and participatory management had a positive association with the effectiveness of developmental surveillance and promotion of children from birth to 5 years old (r = .169, r = .567, respectively). Based on regression analysis, participatory management and self-efficacy could explain 32.0% of the variation regarding the effectiveness of developmental surveillance and promotion of children from birth to 5 years old in a tambon health promoting hospital of Public Health Service Provider Region 5 (adjusted R2 = 0.320, p <.001). The recommendation was that, administrators of Public Health Service Provider Region 5 should set a policy to build direct experience in decision making, provide an academic consultation system for implementation and encourage participation in decision-making at managerial level to gain more competence and quality development in their tasks. 2021-09-30T04:18:11Z 2021-09-30T04:18:11Z 2564-09-30 2560 Original Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 47, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2560), 301-314 2697-584X (Print) 2697-5866 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63742 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาชีวสถิติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ประสิทธิผล,
การรับรู้ความสามารถในตนเอง,
การจัดการแบบมีส่วนร่วม
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
effectiveness, self-efficacy
participatory management
surveillance and promotion of children development
spellingShingle ประสิทธิผล,
การรับรู้ความสามารถในตนเอง,
การจัดการแบบมีส่วนร่วม
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
effectiveness, self-efficacy
participatory management
surveillance and promotion of children development
กษิรา โพรามาต
ภูษิตา อินทรประสงค์
ยุวนุช สัตยสมบูรณ์
จุฑาธิป ศีลบุตร
Kasira Poramat
Bhusita Intraprasong
Youwanuch Sattayasomboon
Jutatip Sillabutra
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5
description การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงอรรถาธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำาบลในเขตบริการสุขภาพ (รพ.สต.) ที่ 5 โดยปัจจัย ที่ศึกษา ได้แก่ การรับรู้ความสามารถในตนเองและ การจัดการแบบมีส่วนร่วม เก็บข้อมูลด้วยการใช้ แบบสอบถามกับบุคลากรที่รับผิดชอบงานพัฒนาการ เด็กของ รพ.สต. จำานวน 398 คน ได้รับแบบสอบถาม ตอบกลับและมีความสมบูรณ์พร้อมวิเคราะห์ จำานวน 301 ฉบับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและถดถอยพหุ ผลการวิจัย พบว่า รพ.สต.มีประสทิ ธผิ ลฯอยู่ในระดับมาก บุคลากร ของรพ.สต.มีระดับการรับรู้ความสามารถในตนเอง และการจัดการแบบมีส่วนร่วมอยู่ในระดับมาก การรับรู้ ความสามารถและการจัดการแบบมีส่วนร่วมในตนเอง มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลฯ (r = 0.169, และ r = 0.56 ตามลำาดับ) มีความสัมพันธ์ทางบวก กับประสิทธิผลฯ การรับรู้ความสามารถในตนเองและ การจัดการแบบมีส่วนร่วมสามารถร่วมกันอธิบาย ความผันแปรของประสิทธิผลฯ ได้ร้อยละ 32.0 (Adjusted R2 = 0.320, p < .001) ผลการวิจัยครั้งนี้ ผู้บริหารควรกำาหนดนโยบายการเสริมสร้างประสบการณ์ ในการตัดสินใจ และการเสริมสร้างระบบที่ปรึกษา ด้านวิชาการสู่การปฏิบัติ เพื่อให้บุคลากรเขตบริการ สุขภาพที่ 5 ปฏิบัติงานพัฒนาการเด็กอย่างมีประสิทธิภาพ และพัฒนางานให้เกิดคุณภาพยิ่งขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
กษิรา โพรามาต
ภูษิตา อินทรประสงค์
ยุวนุช สัตยสมบูรณ์
จุฑาธิป ศีลบุตร
Kasira Poramat
Bhusita Intraprasong
Youwanuch Sattayasomboon
Jutatip Sillabutra
format Original Article
author กษิรา โพรามาต
ภูษิตา อินทรประสงค์
ยุวนุช สัตยสมบูรณ์
จุฑาธิป ศีลบุตร
Kasira Poramat
Bhusita Intraprasong
Youwanuch Sattayasomboon
Jutatip Sillabutra
author_sort กษิรา โพรามาต
title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5
title_short ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5
title_full ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5
title_fullStr ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5
title_sort ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการ เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในเขตบริการสุขภาพที่ 5
publishDate 2021
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63742
_version_ 1763497596133834752