การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล

การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานร่วมกับประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดลประจำปี 2563 โดยเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบตัดขวาง ประชากรเป็นผู้ส่งผลงานเข้าร่วมมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2563 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน ใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปิยะณัฐ พรมสาร, สุภัทร์ษา เที่ยงอารมย์, สุภาภรณ์ ทิมสาราญ, Piyanat Promsarn, Suphatsa Thieng-r-rome, Supaporn Timsamran
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองพัฒนาคุณภาพ
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63956
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.63956
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความพึงพอใจ
มหกรรมคุณภาพ
ระบบจัดส่งผลผลงาน
เครื่องมือวิเคราะห์เว็บไซต์
Journal of Professional Routine to Research
spellingShingle ความพึงพอใจ
มหกรรมคุณภาพ
ระบบจัดส่งผลผลงาน
เครื่องมือวิเคราะห์เว็บไซต์
Journal of Professional Routine to Research
ปิยะณัฐ พรมสาร
สุภัทร์ษา เที่ยงอารมย์
สุภาภรณ์ ทิมสาราญ
Piyanat Promsarn
Suphatsa Thieng-r-rome
Supaporn Timsamran
การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
description การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานร่วมกับประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดลประจำปี 2563 โดยเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบตัดขวาง ประชากรเป็นผู้ส่งผลงานเข้าร่วมมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2563 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน ใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นเองโดยมี 3 ส่วน คือ ส่วนข้อมูลทั่วไป ส่วนความพึงพอใจในการจัดส่งผลงาน และส่วนข้อเสนอแนะอื่น ๆ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ T-test และ ANOVA ร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิด้วยเครื่องมือวิเคราะห์เว็บไซต์โดย Google Analytics, Google Lighthouse และ Google PageSpeed Insights ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.42) อายุ 24 – 39 ปี (ร้อยละ 59.89) อายุงานมากกว่า 10 ปี (ร้อยละ 61.54) เป็นบุคลากรสายสนับสนุน (ร้อยละ 59.34) และส่งผลงานเป็นครั้งแรก (ร้อยละ 58.79) มีความพึงพอใจในการจัดส่งผลงานมากที่สุด ( ̅ = 4.43, S.D. = 0.74) โดยคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยสูงสุดคือด้านการใช้งานแบบฟอร์มนำเสนอผลงาน ̅ = 4.48, S.D. = 0.68) ด้านระบบจัดส่งผลงาน ( ̅ = 4.47, S.D. = 0.75) ด้านการบริการของเจ้าหน้าที่ ( ̅ = 4.44, S.D. = 0.75) ด้านการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ( ̅ = 4.39, S.D. = 0.71) และด้านการใช้งานเว็บไซต์ ( ̅ = 4.37, S.D. = 0.80 ตามลำดับ ปัจจัยด้านเพศ (p = 0.025) และประเภทบุคลากร (p = 0.001) มีผลต่อความพึงพอใจโดยรวมในการจัดส่งผลงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ประสิทธิภาพเว็บไซต์ตามมาตรฐานเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้ใช้ (Core Web Vitals) ด้านระยะเวลาการรอการทำงานโดยรวม (Total Blocking Time, TBT) อยู่ในระดับดี ด้านความเร็วในการโหลดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (Largest Contentful Paint, LCP) และความเสถียรของการจัดวางเค้าโครงเว็บไซต์ (Cumulative Layout Shift, CLS) อยู่ในระดับควรปรับปรุง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองพัฒนาคุณภาพ
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองพัฒนาคุณภาพ
ปิยะณัฐ พรมสาร
สุภัทร์ษา เที่ยงอารมย์
สุภาภรณ์ ทิมสาราญ
Piyanat Promsarn
Suphatsa Thieng-r-rome
Supaporn Timsamran
format Article
author ปิยะณัฐ พรมสาร
สุภัทร์ษา เที่ยงอารมย์
สุภาภรณ์ ทิมสาราญ
Piyanat Promsarn
Suphatsa Thieng-r-rome
Supaporn Timsamran
author_sort ปิยะณัฐ พรมสาร
title การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
title_short การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
title_full การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63956
_version_ 1763490069274951680
spelling th-mahidol.639562023-03-30T13:31:15Z การประเมินความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานและประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล Evaluation of participant satisfaction and website efficiency of the Mahidol Quality Fair ปิยะณัฐ พรมสาร สุภัทร์ษา เที่ยงอารมย์ สุภาภรณ์ ทิมสาราญ Piyanat Promsarn Suphatsa Thieng-r-rome Supaporn Timsamran มหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี. กองพัฒนาคุณภาพ ความพึงพอใจ มหกรรมคุณภาพ ระบบจัดส่งผลผลงาน เครื่องมือวิเคราะห์เว็บไซต์ Journal of Professional Routine to Research การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ส่งผลงานร่วมกับประสิทธิภาพของเว็บไซต์มหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดลประจำปี 2563 โดยเป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบตัดขวาง ประชากรเป็นผู้ส่งผลงานเข้าร่วมมหกรรมคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2563 กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน ใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นเองโดยมี 3 ส่วน คือ ส่วนข้อมูลทั่วไป ส่วนความพึงพอใจในการจัดส่งผลงาน และส่วนข้อเสนอแนะอื่น ๆ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ T-test และ ANOVA ร่วมกับข้อมูลทุติยภูมิด้วยเครื่องมือวิเคราะห์เว็บไซต์โดย Google Analytics, Google Lighthouse และ Google PageSpeed Insights ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.42) อายุ 24 – 39 ปี (ร้อยละ 59.89) อายุงานมากกว่า 10 ปี (ร้อยละ 61.54) เป็นบุคลากรสายสนับสนุน (ร้อยละ 59.34) และส่งผลงานเป็นครั้งแรก (ร้อยละ 58.79) มีความพึงพอใจในการจัดส่งผลงานมากที่สุด ( ̅ = 4.43, S.D. = 0.74) โดยคะแนนความพึงพอใจเฉลี่ยสูงสุดคือด้านการใช้งานแบบฟอร์มนำเสนอผลงาน ̅ = 4.48, S.D. = 0.68) ด้านระบบจัดส่งผลงาน ( ̅ = 4.47, S.D. = 0.75) ด้านการบริการของเจ้าหน้าที่ ( ̅ = 4.44, S.D. = 0.75) ด้านการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ( ̅ = 4.39, S.D. = 0.71) และด้านการใช้งานเว็บไซต์ ( ̅ = 4.37, S.D. = 0.80 ตามลำดับ ปัจจัยด้านเพศ (p = 0.025) และประเภทบุคลากร (p = 0.001) มีผลต่อความพึงพอใจโดยรวมในการจัดส่งผลงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ประสิทธิภาพเว็บไซต์ตามมาตรฐานเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้ใช้ (Core Web Vitals) ด้านระยะเวลาการรอการทำงานโดยรวม (Total Blocking Time, TBT) อยู่ในระดับดี ด้านความเร็วในการโหลดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ที่สุด (Largest Contentful Paint, LCP) และความเสถียรของการจัดวางเค้าโครงเว็บไซต์ (Cumulative Layout Shift, CLS) อยู่ในระดับควรปรับปรุง This research studied the satisfaction of applicants and the efficiency of the Mahidol Quality Fair 2020. This researcher applied cross-sectional analytic approach in this study. The sample group comprised 200 applicants submitting their work in the quality conference of Mahidol Quality Fair 2020. The researcher developed questionnaires composed of three parts, namely, general information, satisfaction in work submission process, and suggestions. The statistical methods applied in this research were percentage, mean, standard deviation, T-test, and One-way ANOVA. The researcher also used the secondary data from web analytic tools, namely, Google Analytics, Google Lighthouse, and Google PageSpeed Insights. The finding revealed that the majority of the sample group was female (82.42%), aged between 24-39 years (50.39%), having more than 10 years of tenure (64.54%), working in supporting section (59.34%), submitting the work for the first time (58.79%). The sample group was satisfied with work submission process at a very high level ( ̅= 4.43, S.D. = 0.74). The use of work presentation form gained the highest average score of satisfaction ( ̅ = 4.48, S.D. = 0.68), followed by the work submission system ( ̅= 4.47, S.D. = 0.75), the service performed by the officers ( ̅ = 4.44, S.D. = 0.75), the public relations ( ̅= 4.39, S.D. = 0.71), and the use of website ( ̅ = 4.37, S.D. = 0.80), respectively. Satisfaction towards the submission system was found to be very high in every aspect. Gender (p = 0.025) and type of personnel (p = 0.001) have significant effects on the overall degree of satisfaction towards the submission system (p < 0.05). The satisfaction with efficiency of the website based on users’ experience (Core Web Vitals), Total blocking time (TBT) was at a good level. The satisfaction with information loading speed of largest contentful paint (LCP), and cumulative layout shifts (CLS) was at a level suggesting that these aspects should be improved. 2022-01-01T19:28:45Z 2022-01-01T19:28:45Z 2565-01-02 2564 Research Article วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 8, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 13-24 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/63956 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf