อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของ อายุ ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความเชื่อทางวัฒนธรรม การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีดำเนินการวิจัย:...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปภาวรินทร์ วังดี, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, Paparwarin Wangdi, Wanna Phahuwatnakorn, Piyanun Limruangrong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64415
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.64415
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การเข้าถึงบริการ
ความเชื่อ
กลุ่มชาติพันธ์ุ
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว
สตรีหลังคลอด
access to health
beliefs
ethnicity
exclusive breastfeeding
postpartum women
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle การเข้าถึงบริการ
ความเชื่อ
กลุ่มชาติพันธ์ุ
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว
สตรีหลังคลอด
access to health
beliefs
ethnicity
exclusive breastfeeding
postpartum women
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
ปภาวรินทร์ วังดี
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Paparwarin Wangdi
Wanna Phahuwatnakorn
Piyanun Limruangrong
อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของ อายุ ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความเชื่อทางวัฒนธรรม การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดชาวเขาที่รับการตรวจหลังคลอด ณ โรงพยาบาลอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และโรงพยาบาลแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 177 ราย โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามความเชื่อทางวัฒนธรรม แบบสอบถามการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามการเข้าถึงบริการ และแบบสัมภาษณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาและสถิติถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่าอายุ ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความเชื่อทางวัฒนธรรม การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเข้าถึงบริการ สามารถร่วมกันทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ร้อยละ 9 (p < .05, Nagelkerke R2 = .09) โดยการเข้าถึงบริการเป็นเพียงตัวแปรเดียวที่สามารถทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Exp(B) = 4.60, 95%CI = 1.07, 19.83, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: การเข้าถึงบริการช่วยให้มารดาหลังคลอดชาวเขาประสบผลสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ดังนั้นพยาบาลผดุงครรภ์ควรเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร เพื่อให้มารดาหลังคลอดชาวเขาที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สามารถเข้าปรึกษาปัญหาได้และให้คำแนะนำและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาหลังคลอดชาวเขา
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ปภาวรินทร์ วังดี
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Paparwarin Wangdi
Wanna Phahuwatnakorn
Piyanun Limruangrong
format Article
author ปภาวรินทร์ วังดี
วรรณา พาหุวัฒนกร
ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง
Paparwarin Wangdi
Wanna Phahuwatnakorn
Piyanun Limruangrong
author_sort ปภาวรินทร์ วังดี
title อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา
title_short อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา
title_full อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา
title_fullStr อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา
title_full_unstemmed อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา
title_sort อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64415
_version_ 1763496576496435200
spelling th-mahidol.644152023-03-31T03:46:59Z อิทธิพลของอายุ ความรู้ ความเชื่อ การสนับสนุน และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา The Influence of Age, Knowledge, Beliefs, Support, and Access to Health Care on 6 -Week Exclusive Breastfeeding among Postpartum Hill-Tribe Mothers ปภาวรินทร์ วังดี วรรณา พาหุวัฒนกร ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง Paparwarin Wangdi Wanna Phahuwatnakorn Piyanun Limruangrong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ การเข้าถึงบริการ ความเชื่อ กลุ่มชาติพันธ์ุ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว สตรีหลังคลอด access to health beliefs ethnicity exclusive breastfeeding postpartum women วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของ อายุ ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความเชื่อทางวัฒนธรรม การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเข้าถึงบริการ ต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขา รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทํานาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาหลังคลอดชาวเขาที่รับการตรวจหลังคลอด ณ โรงพยาบาลอมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ และโรงพยาบาลแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 177 ราย โดยใช้เครื่องมือแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามความเชื่อทางวัฒนธรรม แบบสอบถามการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แบบสอบถามการเข้าถึงบริการ และแบบสัมภาษณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาและสถิติถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่าอายุ ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความเชื่อทางวัฒนธรรม การสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการเข้าถึงบริการ สามารถร่วมกันทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ร้อยละ 9 (p < .05, Nagelkerke R2 = .09) โดยการเข้าถึงบริการเป็นเพียงตัวแปรเดียวที่สามารถทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 สัปดาห์ในมารดาหลังคลอดชาวเขาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (Exp(B) = 4.60, 95%CI = 1.07, 19.83, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: การเข้าถึงบริการช่วยให้มารดาหลังคลอดชาวเขาประสบผลสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ดังนั้นพยาบาลผดุงครรภ์ควรเพิ่มช่องทางการติดต่อสื่อสาร เพื่อให้มารดาหลังคลอดชาวเขาที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สามารถเข้าปรึกษาปัญหาได้และให้คำแนะนำและส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในมารดาหลังคลอดชาวเขา Purpose: To investigating the predictive of age, breastfeeding knowledge, cultural beliefs, breastfeeding support, and access to health care on 6-week exclusive breastfeeding of postpartum hill-tribe mothers. Design: Predictive correlational design. Methods: The study sample consisted of 177 postpartum hill-tribe mothers at the Primary and Holistic section, Omkoi hospital, Chiang mai, and Mae Sariang hospital, Mae Hong Son. Demographic Characteristics Questionnaire, the Breastfeeding Knowledge Questionnaire, the Cultural Beliefs Questionnaire, the Breastfeeding Support Questionnaire, Access to Health Care Questionnaire, and Breastfeeding Interview were used to collect data. Data were analyzed by using descriptive statistics and Logistic Regression analysis. Main findings: The study findings showed that age, breastfeeding knowledge, cultural beliefs, breastfeeding support, and access to health care could together statistically significantly predict on 6-week exclusive breastfeeding of postpartum hill-tribe mothers by 9% (p < .05, Nagelkerke R2 = .09). The only access to health care was the factor that could predict on 6-week exclusive breastfeeding of postpartum hill-tribe mothers (Exp(B) = 4.60, 95%CI = 1.07, 19.83, p < .05). Conclusion and recommendations: According to the study findings, access to health care could help postpartum hill-tribe mothers’ success in exclusive breastfeeding. Therefore, nurse-midwives should advice and promote exclusive breastfeeding for postpartum hill-tribe mothers especially in increasing communication routes during breastfeeding problems. วิทยานิพนธ์หลักสูตรพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการผดุงครรภ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และ วิทยานิพนธ์นี้ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากศูนย์ความร่วมมือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เพื่อมูลนิธิโครงการหลวงและกิจกรรมวิชาการ 2022-03-29T11:28:45Z 2022-03-29T11:28:45Z 2565-03-29 2565 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 2 (เม.ย.- มิ.ย. 2565), 1-16 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64415 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf