ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง

วิธีดำเนินการวิจัย: ระยะแรกศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาปัญหาบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง และความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลในผู้ป่วย/ผู้ดูแล จำนวน 200 คน และบุคลากรสุขภาพจำนวน 28 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามปัญหาบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยล้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นาตยา รัตนอัมภา, อรวมน ศรียุกตศุทธ, ปิยะธิดา จึงสมาน, Nattaya Rattana-umpa, Aurawamon Sriyuktasuth, Piyatida Jeungsmarn
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64421
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.64421
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic บริการสุขภาพ
บริการสุขภาพ
การล้างไตทางช่องท้อง
การดูแลสุขภาพทางไกล
health services
needs assessment
peritoneal dialysis
telehealth
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle บริการสุขภาพ
บริการสุขภาพ
การล้างไตทางช่องท้อง
การดูแลสุขภาพทางไกล
health services
needs assessment
peritoneal dialysis
telehealth
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
นาตยา รัตนอัมภา
อรวมน ศรียุกตศุทธ
ปิยะธิดา จึงสมาน
Nattaya Rattana-umpa
Aurawamon Sriyuktasuth
Piyatida Jeungsmarn
ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง
description วิธีดำเนินการวิจัย: ระยะแรกศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาปัญหาบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง และความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลในผู้ป่วย/ผู้ดูแล จำนวน 200 คน และบุคลากรสุขภาพจำนวน 28 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามปัญหาบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง และ 3) แบบสอบถามความต้องการบริการสุขภาพทางไกล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบที และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ในระยะที่สองผู้วิจัยดำเนินการสนทนากลุ่มในกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มผู้ดูแล และกลุ่มทีมสหวิชาชีพเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกมาสนับสนุนข้อมูลที่ได้จากในระยะแรก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วย/ผู้ดูแลระบุปัญหาเกี่ยวกับการบริการสุขภาพในระดับปานกลาง และมีความต้องการใช้บริการดูแลสุขภาพทางไกลโดยรวมในระดับมาก ส่วนกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสุขภาพระบุปัญหาการให้บริการและความต้องการให้บริการสุขภาพทางไกลในระดับมาก รูปแบบการดูแลที่ได้รับการเสนอแนะจากกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย แหล่งข้อมูลความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับการล้างไตและการดูแลตนเอง ช่องทางการติดต่อสื่อสารกันในรูปแบบต่างๆ การแจ้งเตือนความผิดปกติและแจ้งเตือนการตรวจรักษา การติดตามน้ำยาล้างไต การบันทึกและติดตามข้อมูลสุขภาพและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการล้างไต สรุปและข้อเสนอแนะ: การจัดบริการสุขภาพแก่กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องของประเทศไทยในปัจจุบันยังเป็นประเด็นท้าท้ายต่อการจัดการปัญหาสุขภาพของประเทศ การพัฒนาบริการสุขภาพที่ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริการและผลลัพธ์ทางสุขภาพในผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้มากขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
นาตยา รัตนอัมภา
อรวมน ศรียุกตศุทธ
ปิยะธิดา จึงสมาน
Nattaya Rattana-umpa
Aurawamon Sriyuktasuth
Piyatida Jeungsmarn
format Article
author นาตยา รัตนอัมภา
อรวมน ศรียุกตศุทธ
ปิยะธิดา จึงสมาน
Nattaya Rattana-umpa
Aurawamon Sriyuktasuth
Piyatida Jeungsmarn
author_sort นาตยา รัตนอัมภา
title ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง
title_short ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง
title_full ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง
title_fullStr ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง
title_full_unstemmed ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง
title_sort ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64421
_version_ 1763494387707281408
spelling th-mahidol.644212023-03-30T21:38:18Z ปัญหาบริการสุขภาพและการประเมินความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลสำหรับการล้างไตทางช่องท้อง Problems with Health Services and Assessment of Telehealth needs for Peritoneal Dialysis นาตยา รัตนอัมภา อรวมน ศรียุกตศุทธ ปิยะธิดา จึงสมาน Nattaya Rattana-umpa Aurawamon Sriyuktasuth Piyatida Jeungsmarn มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว. ศูนย์ล้างไตทางช่องท้อง บริการสุขภาพ บริการสุขภาพ การล้างไตทางช่องท้อง การดูแลสุขภาพทางไกล health services needs assessment peritoneal dialysis telehealth วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วิธีดำเนินการวิจัย: ระยะแรกศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อศึกษาปัญหาบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง และความต้องการการดูแลสุขภาพทางไกลในผู้ป่วย/ผู้ดูแล จำนวน 200 คน และบุคลากรสุขภาพจำนวน 28 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามปัญหาบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง และ 3) แบบสอบถามความต้องการบริการสุขภาพทางไกล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบที และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ในระยะที่สองผู้วิจัยดำเนินการสนทนากลุ่มในกลุ่มผู้ป่วย กลุ่มผู้ดูแล และกลุ่มทีมสหวิชาชีพเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกมาสนับสนุนข้อมูลที่ได้จากในระยะแรก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วย/ผู้ดูแลระบุปัญหาเกี่ยวกับการบริการสุขภาพในระดับปานกลาง และมีความต้องการใช้บริการดูแลสุขภาพทางไกลโดยรวมในระดับมาก ส่วนกลุ่มตัวอย่างบุคลากรสุขภาพระบุปัญหาการให้บริการและความต้องการให้บริการสุขภาพทางไกลในระดับมาก รูปแบบการดูแลที่ได้รับการเสนอแนะจากกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย แหล่งข้อมูลความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับการล้างไตและการดูแลตนเอง ช่องทางการติดต่อสื่อสารกันในรูปแบบต่างๆ การแจ้งเตือนความผิดปกติและแจ้งเตือนการตรวจรักษา การติดตามน้ำยาล้างไต การบันทึกและติดตามข้อมูลสุขภาพและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการล้างไต สรุปและข้อเสนอแนะ: การจัดบริการสุขภาพแก่กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องของประเทศไทยในปัจจุบันยังเป็นประเด็นท้าท้ายต่อการจัดการปัญหาสุขภาพของประเทศ การพัฒนาบริการสุขภาพที่ตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้อาจช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบริการและผลลัพธ์ทางสุขภาพในผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้มากขึ้น Purpose: To explore health service problems and assess the needs toward telehealth for peritoneal dialysis in patients undergoing continuous ambulatory peritoneal dialysis, caregivers, and health professionals. Design: Mixed methods study. Methods: A quantitative part was conducted in the first phase to explore health service problems in patients with peritoneal dialysis and telehealth needs in 200 patients/caregivers and 28 health professionals. Data were collected using three questionnaires including 1) personal information form, 2) dialysis health service problem questionnaire, and 3) telehealth needs questionnaire. Descriptive statistics, independent t-test, and one-way ANOVA were applied for data analysis. In the second phase, the researchers conducted focus groups among patient, caregiver, and health professional groups to gain further insights from the data obtained in the first phase. Data were analyzed by using content analysis. Main findings: The patients/caregivers reported health service problems at a moderate level and overall needs for telehealth at a high level. For health professionals, they identified problems in providing health services and needs for telehealth at high levels. Main care features suggested from all groups included resources for knowledge and skills related peritoneal dialysis and self care, communication channels in various forms, notifications of abnormalities and treatment dues, dialysis fluid follow-up, and recording/monitoring health and dialysis related information. Conclusion and recommendations: Health services for patients undergoing continuous ambulatory peritoneal dialysis in Thailand are currently a challenge for health problem management of the country. Developing a health service that meets the needs of all key stakeholders by using information technology may improve service efficiency and health outcomes in this population group. รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 2022-03-29T12:34:27Z 2022-03-29T12:34:27Z 2565-03-29 2565 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 2 (เม.ย.- มิ.ย. 2565), 140-156 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64421 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf