ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจทำนายของการรับรู้ความรุนแรงของโรค อุปสรรคในการรับการรักษา ความซับซ้อนของการใช้ยา และความรู้ด้านการรับประทานยาต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชาคริญาณ์ บุญเกื้อ, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, ศรินรัตน์ ศรีประสงค์, ฉัตรกนก ทุมวิภาต, Chakariya Boonkua, Doungrut Wattanakitkrileart, Sarinrut Sriprasong, Chatkanok Dumavibhat
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64824
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.64824
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด
ความร่วมมือในการรับประทานยา
ความรู้ด้านการรับประทานยา
acute coronary syndrome
dual antiplatelet
medication adherence
medication knowledge
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
spellingShingle ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด
ความร่วมมือในการรับประทานยา
ความรู้ด้านการรับประทานยา
acute coronary syndrome
dual antiplatelet
medication adherence
medication knowledge
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Nursing Science Journal of Thailand
ชาคริญาณ์ บุญเกื้อ
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Chakariya Boonkua
Doungrut Wattanakitkrileart
Sarinrut Sriprasong
Chatkanok Dumavibhat
ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจทำนายของการรับรู้ความรุนแรงของโรค อุปสรรคในการรับการรักษา ความซับซ้อนของการใช้ยา และความรู้ด้านการรับประทานยาต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจมาอย่างน้อย 1 เดือน มีแผนการรักษาใช้ยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 134 ราย เก็บข้อมูล ณ หน่วยตรวจโรคหัวใจและโรคอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความร่วมมือในการรับประทานยา แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงของโรค แบบสอบถามอุปสรรคในการรับการรักษา แบบประเมินความซับซ้อนของการใช้ยา และแบบสอบถามความรู้ด้านการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 77.6 อายุเฉลี่ย 60.9 ปี (SD = 12.8) รับประทานยาแอสไพรินร่วมกับบิลินต้าหรือทิคากิลอ ร้อยละ 56.7 และยาแอสไพรินร่วมกับอะโพเล็ทหรือพลาวิกหรือโคลพิโดเกรล ร้อยละ 43.3 มีความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดระดับมาก ร้อยละ 74.6 การรับรู้ความรุนแรงของโรค อุปสรรคในการรับการรักษา ความซับซ้อนของการใช้ยา และความรู้ด้านการรับประทานยาสามารถร่วมกันทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจได้ร้อยละ 13.1 การรับรู้ความรุนแรงของโรคระดับมาก และความรู้ด้านการรับประทานยาระดับดี สามารถทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR = .37, 95%CI [.15, .92], p = .034; OR = 3.82, 95%CI [1.07, 13.58], p = .038 ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: การรับรู้ความรุนแรงของโรคระดับมาก และความรู้ด้านการรับประทานยาระดับดีมีผลต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด พยาบาลควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรงของภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน และให้ความรู้ด้านการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด เพื่อเพิ่มความร่วมมือในการรับประทานยา
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ชาคริญาณ์ บุญเกื้อ
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Chakariya Boonkua
Doungrut Wattanakitkrileart
Sarinrut Sriprasong
Chatkanok Dumavibhat
format Article
author ชาคริญาณ์ บุญเกื้อ
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
ศรินรัตน์ ศรีประสงค์
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Chakariya Boonkua
Doungrut Wattanakitkrileart
Sarinrut Sriprasong
Chatkanok Dumavibhat
author_sort ชาคริญาณ์ บุญเกื้อ
title ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ
title_short ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ
title_full ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ
title_fullStr ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ
title_full_unstemmed ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ
title_sort ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64824
_version_ 1763487621774835712
spelling th-mahidol.648242023-03-31T08:49:23Z ปัจจัยทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ Factors Predicting Adherence to Dual Antiplatelet Medications among Patients with Acute Coronary Syndrome after Percutaneous Coronary Intervention ชาคริญาณ์ บุญเกื้อ ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ ศรินรัตน์ ศรีประสงค์ ฉัตรกนก ทุมวิภาต Chakariya Boonkua Doungrut Wattanakitkrileart Sarinrut Sriprasong Chatkanok Dumavibhat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด ความร่วมมือในการรับประทานยา ความรู้ด้านการรับประทานยา acute coronary syndrome dual antiplatelet medication adherence medication knowledge วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจทำนายของการรับรู้ความรุนแรงของโรค อุปสรรคในการรับการรักษา ความซับซ้อนของการใช้ยา และความรู้ด้านการรับประทานยาต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจมาอย่างน้อย 1 เดือน มีแผนการรักษาใช้ยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดอย่างน้อย 1 ปี จำนวน 134 ราย เก็บข้อมูล ณ หน่วยตรวจโรคหัวใจและโรคอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความร่วมมือในการรับประทานยา แบบสอบถามการรับรู้ความรุนแรงของโรค แบบสอบถามอุปสรรคในการรับการรักษา แบบประเมินความซับซ้อนของการใช้ยา และแบบสอบถามความรู้ด้านการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชาย ร้อยละ 77.6 อายุเฉลี่ย 60.9 ปี (SD = 12.8) รับประทานยาแอสไพรินร่วมกับบิลินต้าหรือทิคากิลอ ร้อยละ 56.7 และยาแอสไพรินร่วมกับอะโพเล็ทหรือพลาวิกหรือโคลพิโดเกรล ร้อยละ 43.3 มีความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดระดับมาก ร้อยละ 74.6 การรับรู้ความรุนแรงของโรค อุปสรรคในการรับการรักษา ความซับซ้อนของการใช้ยา และความรู้ด้านการรับประทานยาสามารถร่วมกันทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดในผู้ป่วยภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันหลังทำหัตถการขยายหลอดเลือดหัวใจได้ร้อยละ 13.1 การรับรู้ความรุนแรงของโรคระดับมาก และความรู้ด้านการรับประทานยาระดับดี สามารถทำนายความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR = .37, 95%CI [.15, .92], p = .034; OR = 3.82, 95%CI [1.07, 13.58], p = .038 ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: การรับรู้ความรุนแรงของโรคระดับมาก และความรู้ด้านการรับประทานยาระดับดีมีผลต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด พยาบาลควรให้ข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรงของภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน และให้ความรู้ด้านการรับประทานยาต้านเกล็ดเลือดสองชนิด เพื่อเพิ่มความร่วมมือในการรับประทานยา Purpose: This study aimed to examine the predictive power of perceived severity of disease, barriers to receive treatment, complexity of medication regimen and medication knowledge on the adherence to dual antiplatelet medications among patients with acute coronary syndrome at post percutaneous coronary intervention. Design: Correlational predictive research design. Methods: The sample consisted of 134 patients with acute coronary syndrome after percutaneous coronary intervention at least one month, and having a treatment plan of using dual antiplatelet for at least one year. Data were collected at the heart and medicine clinics of a tertiary hospital in Bangkok using demographic characteristics questionnaire, Hill-Bone Medication Adherence Korean scale, Perceived Severity of Disease Questionnaire, Barriers to Receive Treatment Questionnaire, The Medication Regimen Complexity Index, and Dual Antiplatelet Knowledge Questionnaire. Descriptive statistics and logistic regression analysis were used for the analysis. Main findings: The finding revealed that 77.6% of the participants were male with mean age of 60.9 years (SD = 12.8). Taking aspirin with brilinta/ticagrelor 56.7%, aspirin with apolets/plavix/clopidogrel 43.3%. Seventy-four point six percent of the sample had high level of dual antiplatelet medications adherence. Perceived severity of disease, barriers to receive treatment, complexity of medication regimen and medication knowledge could together predict the adherence to dual antiplatelet medications among patients with ACS after the intervention by 13.1%. Finally, high level of perceived severity of disease and good level of medication knowledge could significantly predict the adherence to dual antiplatelet medications (OR = .37, 95%CI [.15, .92], p = .034; OR = 3.82, 95%CI [1.07, 13.58], p = .038, respectively). Conclusion and recommendations: High level of perceived severity of disease and good level of medication knowledge affects the adherence to dual antiplatelet medications. Nurses should give advice about the severity of ACS and knowledge on dual antiplatelet medications to improve the adherence. 2022-05-31T08:24:31Z 2022-05-31T08:24:31Z 2565-05-31 2565 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 3 (ก.ค.- ก.ย. 2565), 60-75 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64824 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf