ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของรูปแบบบริการการฟื้นฟู การสนับสนุนการจัดการตนเอง รายได้ และภาวะโภชนาการต่อความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 126 ราย เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตั...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64827 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.64827 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำ ภาวะโภชนาการ การฟื้นฟูสภาพ การจัดการตนเอง โรคหลอดเลือดสมอง activities of daily living nutritional status rehabilitation self-management stroke วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand |
spellingShingle |
ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำ ภาวะโภชนาการ การฟื้นฟูสภาพ การจัดการตนเอง โรคหลอดเลือดสมอง activities of daily living nutritional status rehabilitation self-management stroke วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand นันตพร ทองเต็ม วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช ศรัณยา โฆสิตะมงคล Nuntabhorn Tongtem Wimolrat Puwarawuttipanit Sarunya Koositamongkol ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
description |
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของรูปแบบบริการการฟื้นฟู การสนับสนุนการจัดการตนเอง รายได้ และภาวะโภชนาการต่อความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทำนาย
วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 126 ราย เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตันที่มารับการติดตามการรักษาหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ที่คลินิกอายุรกรรมระบบประสาท แผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลสองแห่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน แบบสอบถามการสนับสนุนการจัดการตนเองและแบบประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิตถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ
ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันระดับมาก (gif.latex?\bar{X} = 81.59, SD = 21.81) ภายหลังได้รับการรักษาในหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มตัวอย่างได้รับรูปแบบบริการการฟื้นฟู แบบผู้ป่วยนอกมากที่สุด (ร้อยละ 38.1) ได้รับการสนับสนุนการจัดการตนเองในระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 3.13, SD = 0.73) และมีภาวะทุพโภชนาการปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 9.24, SD = 3.30) ปัจจัยที่ศึกษาทุกตัวร่วมอธิบายความแปรปรวนของความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันได้ร้อยละ 64 (R2 = .64) โดยปัจจัยด้านรูปแบบบริการการฟื้นฟู การสนับสนุนการจัดการตนเองและภาวะโภชนาการ เป็นปัจจัยทำนายอย่างมีนัยสำคัญ
สรุปและข้อเสนอแนะ: รูปแบบบริการการฟื้นฟู การสนับสนุนการจัดการตนเองและภาวะโภชนาการสามารถทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้ ดังนั้นทีมสุขภาพควรมีการส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับรูปแบบบริการการฟื้นฟูแต่ละรูปแบบอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งกลับบ้าน ร่วมกับให้การสนับสนุนการจัดการตนเอง โดยเน้นให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการรักษากับทีมสุขภาพ และส่งเสริมภาวะโภชนาการโดยการคัดกรองและประเมินผู้ป่วยตั้งแต่รับการรักษาและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ นันตพร ทองเต็ม วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช ศรัณยา โฆสิตะมงคล Nuntabhorn Tongtem Wimolrat Puwarawuttipanit Sarunya Koositamongkol |
format |
Article |
author |
นันตพร ทองเต็ม วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช ศรัณยา โฆสิตะมงคล Nuntabhorn Tongtem Wimolrat Puwarawuttipanit Sarunya Koositamongkol |
author_sort |
นันตพร ทองเต็ม |
title |
ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
title_short |
ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
title_full |
ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
title_fullStr |
ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
title_sort |
ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64827 |
_version_ |
1763488144817127424 |
spelling |
th-mahidol.648272023-03-30T16:59:18Z ปัจจัยทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง Factors Predicting Activities of Daily Living among Patients with Stroke นันตพร ทองเต็ม วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช ศรัณยา โฆสิตะมงคล Nuntabhorn Tongtem Wimolrat Puwarawuttipanit Sarunya Koositamongkol มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำ ภาวะโภชนาการ การฟื้นฟูสภาพ การจัดการตนเอง โรคหลอดเลือดสมอง activities of daily living nutritional status rehabilitation self-management stroke วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Nursing Science Journal of Thailand วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของรูปแบบบริการการฟื้นฟู การสนับสนุนการจัดการตนเอง รายได้ และภาวะโภชนาการต่อความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 126 ราย เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตันที่มารับการติดตามการรักษาหลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล ที่คลินิกอายุรกรรมระบบประสาท แผนกผู้ป่วยนอก ของโรงพยาบาลสองแห่ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน แบบสอบถามการสนับสนุนการจัดการตนเองและแบบประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิตถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันระดับมาก (gif.latex?\bar{X} = 81.59, SD = 21.81) ภายหลังได้รับการรักษาในหอผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง กลุ่มตัวอย่างได้รับรูปแบบบริการการฟื้นฟู แบบผู้ป่วยนอกมากที่สุด (ร้อยละ 38.1) ได้รับการสนับสนุนการจัดการตนเองในระดับปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 3.13, SD = 0.73) และมีภาวะทุพโภชนาการปานกลาง (gif.latex?\bar{X} = 9.24, SD = 3.30) ปัจจัยที่ศึกษาทุกตัวร่วมอธิบายความแปรปรวนของความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันได้ร้อยละ 64 (R2 = .64) โดยปัจจัยด้านรูปแบบบริการการฟื้นฟู การสนับสนุนการจัดการตนเองและภาวะโภชนาการ เป็นปัจจัยทำนายอย่างมีนัยสำคัญ สรุปและข้อเสนอแนะ: รูปแบบบริการการฟื้นฟู การสนับสนุนการจัดการตนเองและภาวะโภชนาการสามารถทำนายความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้ ดังนั้นทีมสุขภาพควรมีการส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับรูปแบบบริการการฟื้นฟูแต่ละรูปแบบอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งกลับบ้าน ร่วมกับให้การสนับสนุนการจัดการตนเอง โดยเน้นให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการรักษากับทีมสุขภาพ และส่งเสริมภาวะโภชนาการโดยการคัดกรองและประเมินผู้ป่วยตั้งแต่รับการรักษาและติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมีความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันเพิ่มขึ้น Purpose: To study the predicting factors including rehabilitation service models, self-management support, income and nutritional status on activities of daily living performance in stroke patients. Design: Predictive research. Methods: The participants consisted of 126 ischemic stroke patients who came for follow-up after hospital discharge at neurology clinics, outpatient departments of two hospitals. Data were collected using a demographic questionnaire, the Barthel Index for Activities of Daily Living, Self-management Support Questionnaire and Nutritional Status Form. Multiple linear regression was applied to the data analysis. Main findings: The results revealed that activity daily living of the participants was at high level (gif.latex?\bar{X} = 81.59, SD = 21.81) After being discharged from a stroke unit, the rehabilitation service model that the participants had most was out-patient rehabilitation service (38.1%). Overall, self-management support was at moderate level (gif.latex?\bar{X} = 3.13, SD = 0.73); and nutrition status was indicated as moderate malnutrition (gif.latex?\bar{X} = 9.24, SD = 3.30). All study factors could together explain 64% of the variance in the activity daily living (R2 = .64); however, only 3 factors including the rehabilitation service model, self-management support, and nutritional status were significant predictors. Conclusion and recommendations: Healthcare team should promote continuous rehabilitation of each service model until patients with stroke return home. In addition, self-management should be supported by focusing on the patients’ involvement in treatment with health team. Their nutritional status should also be assessed and monitored to enable patients with stroke to increase their performance on activity daily living. โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยบางส่วนจาก บัณฑิตวิทยาลัย และสมาคมศิษย์เก่า บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล 2022-05-31T08:32:56Z 2022-05-31T08:32:56Z 2565-05-31 2565 Research Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 40, ฉบับที่ 3 (ก.ค.- ก.ย. 2565), 76-89 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/64827 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |