การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

การศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง ระหว่างโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยใช้แนวคิดและ กระบวนการพัฒนา ที่สำคัญ 4 ขั้นตอน คือ (1) การวิเคราะห์ระบบการส่งต่อที่มีอยู่ของโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า และศูนย์บริการสาธารณสุข (...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สรรเสริญ ไข่ลือนาม, ประสิทธิ์ ลีระพันธ์, ลักขณา เติมศิริกุลชัย, ธราดล เก่งการพานิช
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/71598
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.71598
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การพัฒนา
ระบบการส่งต่อ
ผู้ป่วยเรื้อรัง
spellingShingle การพัฒนา
ระบบการส่งต่อ
ผู้ป่วยเรื้อรัง
สรรเสริญ ไข่ลือนาม
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
ธราดล เก่งการพานิช
การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
description การศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง ระหว่างโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยใช้แนวคิดและ กระบวนการพัฒนา ที่สำคัญ 4 ขั้นตอน คือ (1) การวิเคราะห์ระบบการส่งต่อที่มีอยู่ของโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า และศูนย์บริการสาธารณสุข (2) การประเมินความเป็นไปได้และเงื่อนไข ในการพัฒนา รูปแบบการส่งต่อ ซึ่งเป็นความพร้อมด้านนโยบาย โครงสร้างและระบบ การบริหารจัดการ และความ พร้อมด้านทรัพยากรโดยเฉพาะบุคลากร (3) การยกร่างรูปแบบการส่งต่อ ผลการดำเนินงาน ตามขั้นตอนที่1และ 2 ใช้เป็นบทเรียนและกรอบความคิดในการยกร่างรูปแบบการส่งต่อ (4) การ ประเมินร่างรูปแบบการส่งต่อ โดยบุคคล 3 กลุ่ม คือ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติและนักวิชาการ เพื่อได้ข้อคิด และข้อเสนอแนะ การพัฒนารูปแบบการส่งต่อที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง ระหว่างโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร มีความจำเป็นที่ต้องทำเพื่อให้สอดคล้อง กับปัญหาและทิศทางการพัฒนาและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะผู้ป่วยเรื้อรัง และหน่วยบริการสุขภาพทั้งสองแห่งก็มีความพร้อมที่จะปฏิบัติร่วมกัน ทั้งในเชิงนโยบาย บุคลากร และการบริหารจัดการ รูปแบบการส่งต่อที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ ด้าน โครงสร้างและระบบการส่งต่อ ที่ต้องจัดตั้งหน่วยงานในสถานบริการขึ้นใหม่ เพื่อทำหน้าที่ประสานงาน และดำเนินการ ด้านการเตรียมของบุคลากรที่ต้องเสริมแนวคิดและเทคนิค วิธีปฏิบัติ และสุดท้าย คือ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรและโครงการปฏิบัติการทั้งหมด ซึ่งการปฏิบัติการนอกเหนือจากการ ส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังแล้ว โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าและศูนย์บริการสาธารณสุขยังร่วมมือกัน ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้านระบบการส่งต่อที่ได้รับการพัฒนาขึ้นนี้ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติต่างเห็นด้วยและ ต้องการให้นำไปสู่การปฏิบัติการจริง ผลการศึกษาเรื่องนี้เป็นประโยชน์โดยตรงต่อโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในการจัดตั้งระบบการ ส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรังตามรูปแบบที่ได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อปฏิบัติการให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยและเพิ่ม ประสิทธิภาพของโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุขได้มากยิ่งขึ้น และเป็นแบบอย่างความ ร่วมมือและช่วยเหลือกัน เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอยู่ในครอบครัว และสังคมได้อย่างมีคุณภาพชีวิต
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
สรรเสริญ ไข่ลือนาม
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
ธราดล เก่งการพานิช
format Article
author สรรเสริญ ไข่ลือนาม
ประสิทธิ์ ลีระพันธ์
ลักขณา เติมศิริกุลชัย
ธราดล เก่งการพานิช
author_sort สรรเสริญ ไข่ลือนาม
title การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
title_short การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
title_full การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
title_fullStr การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
title_full_unstemmed การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
title_sort การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/71598
_version_ 1764209913638158336
spelling th-mahidol.715982023-03-31T12:55:40Z การพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร สรรเสริญ ไข่ลือนาม ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ ลักขณา เติมศิริกุลชัย ธราดล เก่งการพานิช มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า. กองเวชศาสตร์ฟื้นฟู การพัฒนา ระบบการส่งต่อ ผู้ป่วยเรื้อรัง การศึกษาเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง ระหว่างโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้าไปสู่ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร โดยใช้แนวคิดและ กระบวนการพัฒนา ที่สำคัญ 4 ขั้นตอน คือ (1) การวิเคราะห์ระบบการส่งต่อที่มีอยู่ของโรงพยาบาล พระมงกุฎเกล้า และศูนย์บริการสาธารณสุข (2) การประเมินความเป็นไปได้และเงื่อนไข ในการพัฒนา รูปแบบการส่งต่อ ซึ่งเป็นความพร้อมด้านนโยบาย โครงสร้างและระบบ การบริหารจัดการ และความ พร้อมด้านทรัพยากรโดยเฉพาะบุคลากร (3) การยกร่างรูปแบบการส่งต่อ ผลการดำเนินงาน ตามขั้นตอนที่1และ 2 ใช้เป็นบทเรียนและกรอบความคิดในการยกร่างรูปแบบการส่งต่อ (4) การ ประเมินร่างรูปแบบการส่งต่อ โดยบุคคล 3 กลุ่ม คือ ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติและนักวิชาการ เพื่อได้ข้อคิด และข้อเสนอแนะ การพัฒนารูปแบบการส่งต่อที่สามารถนำไปปฏิบัติได้ ผลการศึกษา พบว่ารูปแบบการส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรัง ระหว่างโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า และศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร มีความจำเป็นที่ต้องทำเพื่อให้สอดคล้อง กับปัญหาและทิศทางการพัฒนาและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะผู้ป่วยเรื้อรัง และหน่วยบริการสุขภาพทั้งสองแห่งก็มีความพร้อมที่จะปฏิบัติร่วมกัน ทั้งในเชิงนโยบาย บุคลากร และการบริหารจัดการ รูปแบบการส่งต่อที่พัฒนาขึ้นมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ประการ คือ ด้าน โครงสร้างและระบบการส่งต่อ ที่ต้องจัดตั้งหน่วยงานในสถานบริการขึ้นใหม่ เพื่อทำหน้าที่ประสานงาน และดำเนินการ ด้านการเตรียมของบุคลากรที่ต้องเสริมแนวคิดและเทคนิค วิธีปฏิบัติ และสุดท้าย คือ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรและโครงการปฏิบัติการทั้งหมด ซึ่งการปฏิบัติการนอกเหนือจากการ ส่งต่อผู้ป่วยโรคเรื้อรังแล้ว โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าและศูนย์บริการสาธารณสุขยังร่วมมือกัน ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้านระบบการส่งต่อที่ได้รับการพัฒนาขึ้นนี้ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติต่างเห็นด้วยและ ต้องการให้นำไปสู่การปฏิบัติการจริง ผลการศึกษาเรื่องนี้เป็นประโยชน์โดยตรงต่อโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ในการจัดตั้งระบบการ ส่งต่อผู้ป่วยเรื้อรังตามรูปแบบที่ได้รับการพัฒนาขึ้น เพื่อปฏิบัติการให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยและเพิ่ม ประสิทธิภาพของโรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุขได้มากยิ่งขึ้น และเป็นแบบอย่างความ ร่วมมือและช่วยเหลือกัน เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังอยู่ในครอบครัว และสังคมได้อย่างมีคุณภาพชีวิต This study developed a referral system for chronic disease patient from Pramongkutklao Hospital to Health Centers of Bangkok Metropolitan Administration. The study applied the following concepts and developmental processes. 1) Analyzing the present referral systems of Pramongkutklao Hospital and health centers of Bangkok Metropolitan Administration. 2) Evaluating the feasibility and conditions of developing the referral system by bolting at the readiness of the policy, structure, management system, and resources especially human resources. 3) Drafting a new model of the referral system by utilizing the outcomes of steps 1 and 2 as the lessons and conceptual framework. 4) Evaluating the referral model by using 3 groups of personnel: administrators, practitioners, and academics in order to get opinions and suggestions for developing the referral models that it can be put into practice effectively. The result of the study showed that there was a need to develop a referral system in order to improve patients quality of life. Both health organizations are ready to work cooperatively in regards to policy, personnel, and management system. The referral model developed composed of 3 important components: referral structure and system, whereby a new unit must be established in the health service unit in order to collaborate and implement the activities; human resource preparation, whereby the personnel need to be enhanced in regards to concepts, techniques, and methods; and lastly, resource management and all action plans. This newly developed referral system was agreed upon by all related personnel, especially by the administrators and the practitioners. The result of this study is directly useful for Pramongkutklao Hospital in establishing a referral system for chronic disease patients, that provides benefits for the patients, as well as increasing the service efficiency of Pramongkutklao Hospital and associated health centers. This new referral system will also be a good example of mutual cooperation and assistance between two organizations that can health, improve quality of life of patients,and their families. This type of developed referral system should be applied in various types of health service organizations. 2022-06-24T10:20:27Z 2022-06-24T10:20:27Z 2565-06-24 2552 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 32, ฉบับที่ 112 (พ.ค.- ส.ค. 2552), 8-18 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/71598 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf