พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชน ในพื้นที่อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา เพื่อทดสอบความแตกต่างของปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง และเพื่อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองให้กับประชาชนในพื้นที่อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72022 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.72022 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
พฤติกรรม การอนุรักษ์ เต่ามะเฟือง behavior conservation leatherback sea turtle |
spellingShingle |
พฤติกรรม การอนุรักษ์ เต่ามะเฟือง behavior conservation leatherback sea turtle จรินทร์พร จุนเกียรติ คนางค์ คันธมธุรพจน์ พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา |
description |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชน ในพื้นที่อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา เพื่อทดสอบความแตกต่างของปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง และเพื่อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองให้กับประชาชนในพื้นที่อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา ผู้วิจัยทำการสำรวจกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 ตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองในพื้นที่หาดท้ายเหมืองจำนวน 4 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับการวัดการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าสถิติ t-test และความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และ เปรียบเทียบแบบรายคู่โดยใช้ LSD หรือ Fisher’s Least – Significant Different ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 26.94 สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง พบว่า อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพครอบครัว อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาที่อาศัยในพื้นที่ ประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรม ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง และทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผู้วิจัยเสนอให้ 1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเต่ามะเฟืองให้สาธารณชนได้รับรู้ในวงกว้างผ่านทาง สื่อวิทยุ โทรทัศน์และสื่อออนไลน์ เนื่องจากผลการวิจัยพบว่า สื่อวิทยุ โทรทัศน์และสื่อออนไลน์ เป็นช่องทางในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารการอนุรักษ์ที่มากที่สุด 2) ภาครัฐควรสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้ประกอบการที่เป็นเจ้าของธุรกิจบริเวณริมชายหาด ซึ่งเป็นสถานที่วางไข่ของแม่เต่ามะเฟือง เพื่อสร้างการตระหนักรู้ และขอความร่วมมือในการดูแลชายหาดและแสงไฟที่ส่งผลต่อการวางไข่ของเต่ามะเฟืองในช่วงระยะเวลาฤดูวางไข่ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม จรินทร์พร จุนเกียรติ คนางค์ คันธมธุรพจน์ |
format |
Article |
author |
จรินทร์พร จุนเกียรติ คนางค์ คันธมธุรพจน์ |
author_sort |
จรินทร์พร จุนเกียรติ |
title |
พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา |
title_short |
พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา |
title_full |
พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา |
title_fullStr |
พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา |
title_full_unstemmed |
พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา |
title_sort |
พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72022 |
_version_ |
1763490069663973376 |
spelling |
th-mahidol.720222022-07-05T15:18:12Z พฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชนในตำบลท้ายเหมือง อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา Leatherback Sea Turtle Conservation Behavior of People in Thai Mueang Beach, Thai Mueang District, Phang Nga Province, Thailand จรินทร์พร จุนเกียรติ คนางค์ คันธมธุรพจน์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม พฤติกรรม การอนุรักษ์ เต่ามะเฟือง behavior conservation leatherback sea turtle งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองของประชาชน ในพื้นที่อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา เพื่อทดสอบความแตกต่างของปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง และเพื่อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองให้กับประชาชนในพื้นที่อำเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา ผู้วิจัยทำการสำรวจกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 ตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ในการเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองในพื้นที่หาดท้ายเหมืองจำนวน 4 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมติฐาน ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับการวัดการวิเคราะห์ ได้แก่ ค่าสถิติ t-test และความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และ เปรียบเทียบแบบรายคู่โดยใช้ LSD หรือ Fisher’s Least – Significant Different ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 26.94 สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง พบว่า อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพครอบครัว อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาที่อาศัยในพื้นที่ ประสบการณ์ในการร่วมกิจกรรม ความรู้เกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง และทัศนคติเกี่ยวกับการอนุรักษ์เต่ามะเฟือง มีผลต่อพฤติกรรมการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผู้วิจัยเสนอให้ 1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์เต่ามะเฟืองเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับเต่ามะเฟืองให้สาธารณชนได้รับรู้ในวงกว้างผ่านทาง สื่อวิทยุ โทรทัศน์และสื่อออนไลน์ เนื่องจากผลการวิจัยพบว่า สื่อวิทยุ โทรทัศน์และสื่อออนไลน์ เป็นช่องทางในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารการอนุรักษ์ที่มากที่สุด 2) ภาครัฐควรสร้างการมีส่วนร่วมกับกลุ่มผู้ประกอบการที่เป็นเจ้าของธุรกิจบริเวณริมชายหาด ซึ่งเป็นสถานที่วางไข่ของแม่เต่ามะเฟือง เพื่อสร้างการตระหนักรู้ และขอความร่วมมือในการดูแลชายหาดและแสงไฟที่ส่งผลต่อการวางไข่ของเต่ามะเฟืองในช่วงระยะเวลาฤดูวางไข่ The objective of this study was to study leatherback sea turtle conservation behavior of people in Thai Mueang beach, Thai Mueang district, Phang Nga province in order to examine differences of factors affecting leatherback sea turtle conservation behavior and to recommend guidelines for improving the efficiency of leatherback sea turtle conservation to people in Thai Mueang district, Phang Nga province. This research used both quantitative and qualitative approach. Questionnaire survey was conducted with 360 respondents. In additions, 4 informants were interviewed. Data analysis includes descriptive statistics including percentage, mean, standard deviation (S.D.), and inferential statistics for hypothesis testing and variable correlation testing. For analytical measurements, there are t- test statistics, One- way ANOVA, and LSD or Fisher’s Least – Significant Different for pair comparisons.The study found that most of the respondents had leatherback sea turtle conservation behavior at a moderate level (26.94%), followed by the least level (25 .83%). This study alsoshowed that ages, educational levels, marital status, occupations, average monthly income, periods of living in the area, experiences of activity participation, knowledge of leatherback sea turtle conservation, and attitudes towards leatherback sea turtle conservation have differently affected leatherback sea turtle conservation in statistical significance at 0.05. Two recommendations were proposed; 1) related agencies should disseminate the knowledge of leatherback sea turtle to general public through radio, television and online media since the study showed that radio, television, and online media are the ways which are able to approach most knowledge; 2) public sectors should organize meetings with the business owners on Thai Mueang beach in order to raise awareness and collaborate in watching over the beach and lights which have an impact on nesting of leatherback sea turtle during nesting season. 2022-07-05T07:24:58Z 2022-07-05T07:24:58Z 2565-07-05 2563 Article วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2563), 152-164 1513-8429 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72022 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล |