การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์

การอ้างถึง (allusion) วรรณคดี นิทานไทย มีความสัมพันธ์กับกระบวนการสร้างสรรค์วรรณกรรมไทยโดยเฉพาะวรรณกรรมประเภทนิราศมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน กวีใช้การอ้างถึงเป็นกลวิธีทางวรรณศิลป์ชนิดหนึ่งที่มีส่วนสำคัญในการสื่อสารและสร้างอารมณ์สะเทือนใจ ขยายขอบเขตเนื้อหา ตลอดจนเชื่อมโยงประสบการณ์ร่วมระหว่างผู้เขียนกับผู...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พรเทพ โตชยางกูร
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72040
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72040
record_format dspace
spelling th-mahidol.720402022-07-06T10:56:40Z การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์ The Allusion to Thai Literatures and Tales in Contemporary Nirat: Continuity and Creation พรเทพ โตชยางกูร มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ การอ้างถึง นิราศสมัยใหม่ allusion contemporary Nirats การอ้างถึง (allusion) วรรณคดี นิทานไทย มีความสัมพันธ์กับกระบวนการสร้างสรรค์วรรณกรรมไทยโดยเฉพาะวรรณกรรมประเภทนิราศมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน กวีใช้การอ้างถึงเป็นกลวิธีทางวรรณศิลป์ชนิดหนึ่งที่มีส่วนสำคัญในการสื่อสารและสร้างอารมณ์สะเทือนใจ ขยายขอบเขตเนื้อหา ตลอดจนเชื่อมโยงประสบการณ์ร่วมระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านที่นอกจากจะทำให้งานเขียนมีความลึกซึ้งแล้ว ยังเป็นการแสดงภูมิปัญญาและความรอบรู้ของทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน ตลอดจนความแพร่หลายของวรรณคดีและนิทานเรื่องที่กวีอ้างถึงด้วย นิราศโบราณนิยมอ้างถึงเหตุการณ์พลัดพรากของตัวละครในวรรณคดี หรือนิทานเรื่องอื่น ๆ เพื่อเชื่อมโยงความโหยหาความรักเและเน้นย้ำปริมาณความทุกข์โศกของกวีที่มีมากกว่าตัวละครเหล่านั้น จากการศึกษานิราศสมัยใหม่จำนวน 4 เรื่อง คือ ลำนำภูกระดึง ของอังคาร กัลยาณพงศ์ หมายเหตุร่วมสมัย ของไพบูลย์ วงษ์เทศ กลอนกล่อมโลก ของไพวรินทร์ ขาวงาม และโคลงนิราศแม่เมาะ ของก้องภพ รื่นศิริ พบว่านิราศสมัยใหม่จะอ้างถึง ตัวละคร เหตุการณ์ ฉากและสารสำคัญ ตลอดจนสำนวนโวหารและความเปรียบของเรื่องอื่น ๆ ข้อน่าสังเกตคือ เนื้อหาและจุดประสงค์ของการอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่จะแตกต่างและหลากหลายกว่านิราศโบราณ เพราะกวีจะอ้างถึงตัวบท เรื่องราวอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการพลัดพรากของตัวละคร เพื่อขยายความและขอบเขตเนื้อหานิราศ ตลอดจนแบ่งปันประสบการณ์ร่วม สร้างอารมณ์ร่วม อันมีบทบาทสำคัญในการสื่อสาร แสดงทัศนะและวิพากษ์วิจารณ์สังคมของกวี กล่าวได้ว่านิราศสมัยใหม่ได้สืบสานกลวิธีการอ้างถึงนี้จากนิราศโบราณมาสร้างสรรค์ให้สอดรับกับจุดประสงค์และพันธกิจแห่งกวีนิพนธ์สมัยใหม่ An allusion to Thai literatures and tales has continuously related to the process of Thai literatures creation in particular the one called “Nirat”. The poets has employed the allusion as one of literary techniques playing significant role to convey message, create emotion, expand content as well as link the co-experience of authors and the readers’ which does not only show the profundity of the written works but also reflects the authors and the readers’ wisdom and the popularity of alluded literatures and tales. Classical Nirats often allude to characters’ far-away depicted in another literatures or tales for the purpose of linking the poet’s longing for love and to emphasize that their sorrow is much more than those characters’. In this study, 4 selected contemporary Nirats, namely “Lam Nam Phu Kra Dung” by Angkarn Kanlayanapong, “Mai Het Ruam Samai” by Paiboon Wongtes, “Klon Klom Lok” by Paiwarin Khao-ngam and “Khlong Nirat Mae Moh” by Kongpob Ruensiri were studied. The study reveals that the contemporary Nirats refer to characters, events, scenes and main context as well as composing style and comparison of other stories. The study also reveals a notable remark that the objective of the allusion to Thai literatures and tales employed in contemporary Nirats is more distinct and various than classical Nirats; the poets refers to texts and another events which do not relate to characters’ far-away to expand Narats’ content as well as share experience and emotion playing prominent role in conveying the poets’ attitude and criticism of society. It can be said that contemporary Nirats inherit the allusion technique employed in classical Nirats but they adapt it to be appropriate to contemporary poetry's objective and mission. 2022-07-06T03:56:40Z 2022-07-06T03:56:40Z 2565-07-06 2561 Article วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 88-111 1513-8429 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72040 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การอ้างถึง
นิราศสมัยใหม่
allusion
contemporary Nirats
spellingShingle การอ้างถึง
นิราศสมัยใหม่
allusion
contemporary Nirats
พรเทพ โตชยางกูร
การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์
description การอ้างถึง (allusion) วรรณคดี นิทานไทย มีความสัมพันธ์กับกระบวนการสร้างสรรค์วรรณกรรมไทยโดยเฉพาะวรรณกรรมประเภทนิราศมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน กวีใช้การอ้างถึงเป็นกลวิธีทางวรรณศิลป์ชนิดหนึ่งที่มีส่วนสำคัญในการสื่อสารและสร้างอารมณ์สะเทือนใจ ขยายขอบเขตเนื้อหา ตลอดจนเชื่อมโยงประสบการณ์ร่วมระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่านที่นอกจากจะทำให้งานเขียนมีความลึกซึ้งแล้ว ยังเป็นการแสดงภูมิปัญญาและความรอบรู้ของทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน ตลอดจนความแพร่หลายของวรรณคดีและนิทานเรื่องที่กวีอ้างถึงด้วย นิราศโบราณนิยมอ้างถึงเหตุการณ์พลัดพรากของตัวละครในวรรณคดี หรือนิทานเรื่องอื่น ๆ เพื่อเชื่อมโยงความโหยหาความรักเและเน้นย้ำปริมาณความทุกข์โศกของกวีที่มีมากกว่าตัวละครเหล่านั้น จากการศึกษานิราศสมัยใหม่จำนวน 4 เรื่อง คือ ลำนำภูกระดึง ของอังคาร กัลยาณพงศ์ หมายเหตุร่วมสมัย ของไพบูลย์ วงษ์เทศ กลอนกล่อมโลก ของไพวรินทร์ ขาวงาม และโคลงนิราศแม่เมาะ ของก้องภพ รื่นศิริ พบว่านิราศสมัยใหม่จะอ้างถึง ตัวละคร เหตุการณ์ ฉากและสารสำคัญ ตลอดจนสำนวนโวหารและความเปรียบของเรื่องอื่น ๆ ข้อน่าสังเกตคือ เนื้อหาและจุดประสงค์ของการอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่จะแตกต่างและหลากหลายกว่านิราศโบราณ เพราะกวีจะอ้างถึงตัวบท เรื่องราวอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการพลัดพรากของตัวละคร เพื่อขยายความและขอบเขตเนื้อหานิราศ ตลอดจนแบ่งปันประสบการณ์ร่วม สร้างอารมณ์ร่วม อันมีบทบาทสำคัญในการสื่อสาร แสดงทัศนะและวิพากษ์วิจารณ์สังคมของกวี กล่าวได้ว่านิราศสมัยใหม่ได้สืบสานกลวิธีการอ้างถึงนี้จากนิราศโบราณมาสร้างสรรค์ให้สอดรับกับจุดประสงค์และพันธกิจแห่งกวีนิพนธ์สมัยใหม่
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์
พรเทพ โตชยางกูร
format Article
author พรเทพ โตชยางกูร
author_sort พรเทพ โตชยางกูร
title การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์
title_short การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์
title_full การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์
title_fullStr การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์
title_full_unstemmed การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์
title_sort การอ้างถึงวรรณคดี นิทานไทยในนิราศสมัยใหม่: การสืบสานและการสร้างสรรค์
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72040
_version_ 1763494061928349696