การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และความพึงพอใจของพยาบาลในการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลนครพนม กรอบแนวคิดการวิจัยใช้แนวคิดการประเมินคุณภาพระบบบริการของโดนาบิเดียน และพัฒนาแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวตามรูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลตาม...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72062 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.72062 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การศึกษาความเป็นไปได้ แผนการพยาบาล ภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ Feasibility study Nursing care plan Heart failure Secondary hospital |
spellingShingle |
การศึกษาความเป็นไปได้ แผนการพยาบาล ภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ Feasibility study Nursing care plan Heart failure Secondary hospital ดวงใจ บุญคง อภิญญา ศิริพิทยาคุุณกิจ พรทิพย์ มาลาธรรม Apinya Siripitayakunkit Duangjai Boonkong Porntip Malathum การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ |
description |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และความพึงพอใจของพยาบาลในการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลนครพนม กรอบแนวคิดการวิจัยใช้แนวคิดการประเมินคุณภาพระบบบริการของโดนาบิเดียน และพัฒนาแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวตามรูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของซูคัพ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพประจำหอผู้ป่วยอายุรกรรมจำนวน 18 คน และ 8 คนจากกลุ่มงานเวชกรรมสังคม งานเยี่ยมบ้าน โรงพยาบาลนครพนม ดำเนินการวิจัยโดยให้พยาบาลกลุ่มตัวอย่างนำแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวไปใช้ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาจนถึงติดตามต่อเนื่องเมื่อกลับบ้าน เป็นระยะเวลา 3 เดือน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง แบบสอบถามความเป็นไปได้ของแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นรายข้อ แบบสอบถามความเป็นไปได้ของการนำแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวไปใช้ภาพรวม และ แบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลต่อการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา หาค่าจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลส่วนใหญ่เห็นว่าแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ในการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว แต่พยาบาลหน่วยเวชกรรมสังคมเพียงร้อยละ 25 เห็นว่าสามารถการติดตามผู้ป่วยทางโทรศัพท์ตามแผนการพยาบาลได้ พยาบาลมีความพึงพอใจต่อการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวระดับมากที่สุด จากการวิจัยครั้งนี้ควรมีการกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่ต้องติดตามเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารโรงพยาบาลควรสนับสนุนให้มีการทำงานประสานงานของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้มีการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวต่อเนื่อง และจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวแก่พยาบาล |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ดวงใจ บุญคง อภิญญา ศิริพิทยาคุุณกิจ พรทิพย์ มาลาธรรม Apinya Siripitayakunkit Duangjai Boonkong Porntip Malathum |
format |
Article |
author |
ดวงใจ บุญคง อภิญญา ศิริพิทยาคุุณกิจ พรทิพย์ มาลาธรรม Apinya Siripitayakunkit Duangjai Boonkong Porntip Malathum |
author_sort |
ดวงใจ บุญคง |
title |
การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ |
title_short |
การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ |
title_full |
การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ |
title_fullStr |
การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ |
title_full_unstemmed |
การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ |
title_sort |
การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72062 |
_version_ |
1763492542527045632 |
spelling |
th-mahidol.720622023-03-31T01:24:08Z การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว ในโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ A Feasibility Study of Applying a Nursing Care Plan for Persons with Heart Failure in a Secondary Hospital ดวงใจ บุญคง อภิญญา ศิริพิทยาคุุณกิจ พรทิพย์ มาลาธรรม Apinya Siripitayakunkit Duangjai Boonkong Porntip Malathum มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี การศึกษาความเป็นไปได้ แผนการพยาบาล ภาวะหัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ Feasibility study Nursing care plan Heart failure Secondary hospital การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และความพึงพอใจของพยาบาลในการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลนครพนม กรอบแนวคิดการวิจัยใช้แนวคิดการประเมินคุณภาพระบบบริการของโดนาบิเดียน และพัฒนาแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวตามรูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์ของซูคัพ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาเป็นพยาบาลวิชาชีพประจำหอผู้ป่วยอายุรกรรมจำนวน 18 คน และ 8 คนจากกลุ่มงานเวชกรรมสังคม งานเยี่ยมบ้าน โรงพยาบาลนครพนม ดำเนินการวิจัยโดยให้พยาบาลกลุ่มตัวอย่างนำแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวไปใช้ ตั้งแต่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาจนถึงติดตามต่อเนื่องเมื่อกลับบ้าน เป็นระยะเวลา 3 เดือน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง แบบสอบถามความเป็นไปได้ของแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวเป็นรายข้อ แบบสอบถามความเป็นไปได้ของการนำแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวไปใช้ภาพรวม และ แบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลต่อการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา หาค่าจำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลส่วนใหญ่เห็นว่าแผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ในการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลว แต่พยาบาลหน่วยเวชกรรมสังคมเพียงร้อยละ 25 เห็นว่าสามารถการติดตามผู้ป่วยทางโทรศัพท์ตามแผนการพยาบาลได้ พยาบาลมีความพึงพอใจต่อการใช้แผนการพยาบาลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวระดับมากที่สุด จากการวิจัยครั้งนี้ควรมีการกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวที่ต้องติดตามเยี่ยมบ้านอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารโรงพยาบาลควรสนับสนุนให้มีการทำงานประสานงานของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้มีการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวต่อเนื่อง และจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ที่มีภาวะหัวใจล้มเหลวแก่พยาบาล The purpose of this study was to examine the feasibility and satisfaction of nurses with applying the Nursing Care Plan for Persons with Heart Failure (NCPPHF)admitted to Nakhon Phanom Hospital. Donabedian’s Quality Framework and Soukup’s Evidence-based Practice Model was used to guide the study. Participants consisted of 18 nurses from two medical wards, and eight nurses from the Home Health Care Unit at Nakhon Phanom Hospital. The NCPPHF was used with patients who were admitted to the medical ward until discharge from hospital to home for three months. The instruments used to collect data included questionnaires to elicit the personal data and the feasibility to use the NCPPHF for each item and as a whole and satisfaction of nurses with using the Nursing Care Plan. Data were analyzed with descriptive statistics. The findings revealed that most nurses agreed that the NCPPHF was possible to use. Only 25% of Home Health Care nurses agreed with the NCPPHF in terms of monitoring patients by a telephone call after discharge from the hospital. In addition, nurses were satisfied with the NCPPHF with the highest level. In conclusion, the NCPPHF is feasible to use. Criteria of persons with heart failure for home visits monitoring should be developed so nurses can monitor persons with heart failure by telephone call after discharge from the hospital. The continuing home visit had to maintain effectiveness of nursing care. The Administration Board of Nakhon Phanom Hospital should systematically support collaborative units of care in managing effective care of persons with heart failure. All nurses who are responsible for caring heart failure persons should have the opportunity to be trained in knowledge and care of persons with heart failure. 2022-07-07T02:50:10Z 2022-07-07T02:50:10Z 2565-07-07 2564 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2564), 202-215 0858-9739 (Print) 2672-9784 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72062 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |