ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก
การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดซ้ำนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมการชักซึ่งเป็นโปรแกรมให้การศึกษาแก่ผู้ป่วยโรคลมชักผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชักเพื่อควบคุมไม่ให้เกิดอาการชักซ้ำ ใช้แนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของนัทบีมและการทบทวนวรรณกร...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72081 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.72081 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
health literacy health behavior epileptic patients line application |
spellingShingle |
health literacy health behavior epileptic patients line application ณัฐปัณฑ์ แก้วเงิน พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์ อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์ Natthapan Kaewnguen Poolsuk Janepanish Visudhtibhan Anannit Visudhtibhan ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก |
description |
การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดซ้ำนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมการชักซึ่งเป็นโปรแกรมให้การศึกษาแก่ผู้ป่วยโรคลมชักผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชักเพื่อควบคุมไม่ให้เกิดอาการชักซ้ำ ใช้แนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของนัทบีมและการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเป็นกรอบแนวคิดการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคลมชักที่มารับการรักษาที่่แผนกผู้ป่วยนอก คลินิกอายุรกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลระยอง จำนวน 18 ราย โปรแกรมควบคุมการชัก ประกอบด้วยชุุดการศึกษาเกี่่ยวกับโรคลมชักและชุดการฝึกปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพส่งให้แก่กลุ่มตัวอย่างผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ มีระยะเวลาการทดลอง 6 สัปดาห์ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบสอบถามในการบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลข้อมูลสุขภาพความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ ผู้วิจัยประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 3 ครั้ง คือ ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที (สัปดาห์ที่ 6 จากเริ่มต้น) และหลังสิ้นสุดโปรแกรม 4 สัปดาห์ (สัปดาห์ที่ 10) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ Repeated-measures ANOVA ผลการวิจัย พบว่าระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ และระดับพฤติกรรมสุขภาพเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมทันที และ 4 สัปดาห์หลังสิ้นสุดโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมควบคุมการชักซึ่งเป็นโปรแกรมการสอนผู้ป่วยผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ สามารถทำให้ผู้ป่วยเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยอาจมีข้อจำกัดในการสรุปว่าผลลัพธ์เกิดจากโปรแกรมเท่านั้นเนื่องจากไม่มีกลุ่มควบคุม แต่คาดว่าผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับบุคลากรในทีมสุขภาพสามารถประยุกต์ใช้แอปพลิเคชันไลน์ เพื่อเป็นสื่อในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชักในการป้องกันการชักซ้ำได้ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี ณัฐปัณฑ์ แก้วเงิน พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์ อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์ Natthapan Kaewnguen Poolsuk Janepanish Visudhtibhan Anannit Visudhtibhan |
format |
Article |
author |
ณัฐปัณฑ์ แก้วเงิน พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์ อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์ Natthapan Kaewnguen Poolsuk Janepanish Visudhtibhan Anannit Visudhtibhan |
author_sort |
ณัฐปัณฑ์ แก้วเงิน |
title |
ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก |
title_short |
ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก |
title_full |
ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก |
title_fullStr |
ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก |
title_full_unstemmed |
ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก |
title_sort |
ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72081 |
_version_ |
1763489112264802304 |
spelling |
th-mahidol.720812023-03-30T12:05:26Z ผลของโปรแกรมควบคุมการชักผ่านแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชัก Effects of an Epilepsy Control Program via the Line Application on Health Literacy and Health Behavior in Patients with Epilepsy ณัฐปัณฑ์ แก้วเงิน พูลสุข เจนพานิชย์ วิสุทธิพันธ์ อนันต์นิตย์ วิสุทธิพันธ์ Natthapan Kaewnguen Poolsuk Janepanish Visudhtibhan Anannit Visudhtibhan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี health literacy health behavior epileptic patients line application การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียววัดซ้ำนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมควบคุมการชักซึ่งเป็นโปรแกรมให้การศึกษาแก่ผู้ป่วยโรคลมชักผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ต่อความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชักเพื่อควบคุมไม่ให้เกิดอาการชักซ้ำ ใช้แนวคิดความรอบรู้ด้านสุขภาพของนัทบีมและการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเป็นกรอบแนวคิดการวิจัย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคลมชักที่มารับการรักษาที่่แผนกผู้ป่วยนอก คลินิกอายุรกรรมระบบประสาท โรงพยาบาลระยอง จำนวน 18 ราย โปรแกรมควบคุมการชัก ประกอบด้วยชุุดการศึกษาเกี่่ยวกับโรคลมชักและชุดการฝึกปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพส่งให้แก่กลุ่มตัวอย่างผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ มีระยะเวลาการทดลอง 6 สัปดาห์ เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบสอบถามในการบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลข้อมูลสุขภาพความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ ผู้วิจัยประเมินความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน 3 ครั้ง คือ ก่อนเข้าร่วมโปรแกรมหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที (สัปดาห์ที่ 6 จากเริ่มต้น) และหลังสิ้นสุดโปรแกรม 4 สัปดาห์ (สัปดาห์ที่ 10) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ Repeated-measures ANOVA ผลการวิจัย พบว่าระดับความรอบรู้ด้านสุขภาพ และระดับพฤติกรรมสุขภาพเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมทันที และ 4 สัปดาห์หลังสิ้นสุดโปรแกรมสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมควบคุมการชักซึ่งเป็นโปรแกรมการสอนผู้ป่วยผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ สามารถทำให้ผู้ป่วยเกิดความรอบรู้ด้านสุขภาพและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยอาจมีข้อจำกัดในการสรุปว่าผลลัพธ์เกิดจากโปรแกรมเท่านั้นเนื่องจากไม่มีกลุ่มควบคุม แต่คาดว่าผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับบุคลากรในทีมสุขภาพสามารถประยุกต์ใช้แอปพลิเคชันไลน์ เพื่อเป็นสื่อในการส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโรคลมชักในการป้องกันการชักซ้ำได้ This quasi-experimental research with a one-group pretest-posttest design aimed to assess the effects of an education program for adequate control of seizure recurrence via the LINE application on health literacy and health behavior. The conceptual framework to guide the study was based on Nutbeam’s health literacy concept and relevant literature. The participants were 18 patients with epilepsy who attended the outpatient neurological clinic at Rayong Hospital. All received an education program entitled “Epilepsy Control Program.” This program consisted of an education learning package about epilepsy and a skill-training program to develop health literacy and health behaviors, distributed to the participants via the LINE application. The duration for accessing this program was six weeks. The instruments for data collection consisted of questionnaires to elicit personal data, health data, health literacy, and health behavior. Data collection on health literacy and health behavior was performed three times: at baseline, immediately after the program (or the sixth week from baseline), and the fourth week after the program ended (the tenth week). Descriptive statistics and one-way repeated measures ANOVA were used for data analysis. Findings revealed that the participants' scores on health literacy and health behavior, measured immediately after the program and at the fourth week after the program ended, were higher than those at the enrollment time. This study demonstrated that the Epilepsy Control Program through the LINE application was an effective tool for promoting health literacy and health behavior in patients with epilepsy.However, this study might have limitations in concluding that the results occur from the program only because of no control group. Nevertheless, it is expected that integration of this educational program according to the individual’s context would be beneficial in decreasing the risks of seizure recurrence. 2022-07-07T08:42:04Z 2022-07-07T08:42:04Z 2565-07-07 2565 Article รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 28, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2565), 109-126 2672-9784 (Online) 0858-9739 (Print) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72081 tha มหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |