การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560

ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมในชีวิตประจำวันที่ผู้สูงอายุปฏิบัติโดยไม่ต้องการอุปกรณ์ หรือผู้ช่วยเหลือ มีความสำคัญต่อการระบุความต้องการความช่วยเหลือ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การวิจัยทุติยภูมิครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อลงกรณ์ เปกาลี, ภรณี วัฒนสมบูรณ์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72149
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72149
record_format dspace
spelling th-mahidol.721492023-03-31T10:42:30Z การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560 The Limited Activities of Daily Living (ADLs) among Thai Older Adults: The Evidence from the 2017 National Survey of Older Persons in Thailand อลงกรณ์ เปกาลี ภรณี วัฒนสมบูรณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ ผู้สูงอายุ การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การสำรวจระดับชาติ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมในชีวิตประจำวันที่ผู้สูงอายุปฏิบัติโดยไม่ต้องการอุปกรณ์ หรือผู้ช่วยเหลือ มีความสำคัญต่อการระบุความต้องการความช่วยเหลือ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การวิจัยทุติยภูมิครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ข้อมูลจากการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้รับการอนุมัติให้ใช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 39,032 คน ที่ตอบคำถามความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันครบถ้วนถูกใช้ในการวิเคราะห์ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ การถดถอยโลจิสติกแบบทวิ ถูกใช้วิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวม ร้อยละ 29.4 ของผู้สูงอายุมีการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดอย่างน้อย 1 กิจกรรม การกลั้นปัสสาวะ (ร้อยละ 17.4) การเคลื่อนที่ภายในบ้าน (ร้อยละ 16.4) คือ กิจกรรมที่ผู้สูงอายุมีข้อจำกัดมากที่สุด ผลการวิเคราะห์สถิติการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบทวิ พบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดอย่างน้อย 1 กิจกรรม คือ เพศหญิง, ผู้สูงอายุตอนกลางและตอนปลาย, สถานภาพโสด/หม้าย/หย่า/แยกกันอยู่, ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี, มีรายได้ไม่เพียงพอ, มีประวัติการหกล้ม, มีปัญหาการมองเห็น การได้ยิน และการเคี้ยว, และการไม่ออกกำลังกายเป็นประจำ ผลการศึกษานี้ให้ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำหรับการจัดบริการการดูแล และสนับสนุนผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้สูงอายุหญิงที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ รวมทั้งควรมีการคัดกรองภาวะเสื่อมตามวัย ที่บูรณาการเข้าในการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อการตรวจสอบ และวางแผนในการสนับสนุนและดูแลแต่เริ่มแรก Ability to accomplish activities of daily living (ADLs)- routine activities people do every day without assistance, among older adults is important to determine the needs of aids and assistants, and quality of life improvement. This secondary research aimed to assess the limited ADLs among older adults and its associated factors. The data of the 2017 survey of the older persons in Thailand permitted by the National Statistical Office were used for the study. The sample of 39,032 older adults aged 60 years and over who reported on their activities of daily living were selected to analyze. Descriptive statistics and binary logistic regression analysis were employed for data analysis. The results showed as overall that 29.4 % of older adults reported at least one limited ADL. Among the 10 basic ADLs, urinary incontinence (17.4 %) and mobility within their house (16.4 %) were mostly reported as limited activities. The result of binary logistic regression analysis revealed that the factors significantly associated with having at least one limited ADLs were being female; mid-old and oldest-old persons; single/widowed/divorced/ separated status; completing education at below bachelor’s degree; insufficient income; having fall history; having visual, hearing, and chewing problems; and no regular exercise. The findings suggest the related agencies - Ministry of Public Health and Ministry of Social Development and Human Security - for provisions of elderly care and support, particularly female older adults with low socioeconomic status. Screening of degenerative conditions should be implemented as routine annual health check-up to early detect and plan to support and care. 2022-07-16T09:06:33Z 2022-07-16T09:06:33Z 2565-07-16 2564 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 44, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2564), 49-59 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72149 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้สูงอายุ
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
การสำรวจระดับชาติ
spellingShingle ผู้สูงอายุ
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
การสำรวจระดับชาติ
อลงกรณ์ เปกาลี
ภรณี วัฒนสมบูรณ์
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560
description ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ ซึ่งหมายถึง กิจกรรมในชีวิตประจำวันที่ผู้สูงอายุปฏิบัติโดยไม่ต้องการอุปกรณ์ หรือผู้ช่วยเหลือ มีความสำคัญต่อการระบุความต้องการความช่วยเหลือ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ การวิจัยทุติยภูมิครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ ข้อมูลจากการสำรวจประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้รับการอนุมัติให้ใช้ในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 39,032 คน ที่ตอบคำถามความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันครบถ้วนถูกใช้ในการวิเคราะห์ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ การถดถอยโลจิสติกแบบทวิ ถูกใช้วิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ในภาพรวม ร้อยละ 29.4 ของผู้สูงอายุมีการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดอย่างน้อย 1 กิจกรรม การกลั้นปัสสาวะ (ร้อยละ 17.4) การเคลื่อนที่ภายในบ้าน (ร้อยละ 16.4) คือ กิจกรรมที่ผู้สูงอายุมีข้อจำกัดมากที่สุด ผลการวิเคราะห์สถิติการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบทวิ พบว่า ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดอย่างน้อย 1 กิจกรรม คือ เพศหญิง, ผู้สูงอายุตอนกลางและตอนปลาย, สถานภาพโสด/หม้าย/หย่า/แยกกันอยู่, ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี, มีรายได้ไม่เพียงพอ, มีประวัติการหกล้ม, มีปัญหาการมองเห็น การได้ยิน และการเคี้ยว, และการไม่ออกกำลังกายเป็นประจำ ผลการศึกษานี้ให้ข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำหรับการจัดบริการการดูแล และสนับสนุนผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้สูงอายุหญิงที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำ รวมทั้งควรมีการคัดกรองภาวะเสื่อมตามวัย ที่บูรณาการเข้าในการตรวจสุขภาพประจำปี เพื่อการตรวจสอบ และวางแผนในการสนับสนุนและดูแลแต่เริ่มแรก
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์
อลงกรณ์ เปกาลี
ภรณี วัฒนสมบูรณ์
format Article
author อลงกรณ์ เปกาลี
ภรณี วัฒนสมบูรณ์
author_sort อลงกรณ์ เปกาลี
title การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560
title_short การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560
title_full การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560
title_fullStr การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560
title_full_unstemmed การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560
title_sort การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันที่จำกัดของผู้สูงอายุไทย: ข้อมูลจากการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2560
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72149
_version_ 1764209913990479872