ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุ ประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน ทางด้านสุขภาพ และสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิง นโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของจังหวัด ฉะเชิงเทรา เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 86 คน เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูล คนสำคัญ จำนวน 9 คน วิเค...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72191 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.72191 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.721912023-03-30T16:10:33Z ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา Factors Affecting Health Operations of Local Administrative Organizations in Chachoengsao Province ญาดา เรียมริมมะดัน อนุสรณ์ อุดปล้อง Yada Reamrimmadan Anusorn Udplong มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา factors affecting health operations local administrative organization Chachoengsao Province การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุ ประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน ทางด้านสุขภาพ และสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิง นโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของจังหวัด ฉะเชิงเทรา เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 86 คน เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูล คนสำคัญ จำนวน 9 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยการทดสอบค่าที การหาความแปรปรวนทางเดียว และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ผลการดำเนินงานด้านสุขภาพในภาพรวมอยู่ในระดับสูง (X = 2.452, SD = .397) ปัจจัยที่ส่งผลและสามารถ พยากรณ์คะแนนการดำเนินงานด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ได้แก่ ประเภทหน่วยงาน คุณวุฒิของ บุคลากร และโครงสร้างภายในองค์กร ตัวแปรทั้งหมด สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการดำเนินงานด้านสุขภาพ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ร้อยละ 56.60 (Adjusted R2 = 0.566, p < .001) ผลการสังเคราะห์ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สรุปได้ 4 ประเด็น ได้แก่ 1. การวางแผนบริหารอัตรากำลังคนในการรับผิดชอบ ดำเนินการทางด้านสุขภาพ 2. การพัฒนาความสามารถ บุคลากรที่มีอยู่และเสริมสร้างศักยภาพในการดำเนินงาน ด้านสุขภาพให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 3. ส่งเสริม ให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือการทำงานร่วมกับองค์กร อื่น ๆ ในการดำเนินงานด้านสุขภาพ และ 4. การ พัฒนาและปรับปรุงระเบียบ/กฎหมายให้บริหารงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ This study comprised a mixed method research design with the objectives to examine health operation, analyze factors affecting health operations, and synthesize policy-based suggestions of local administrative organizations in Chachoengsao Province. Quantitative data were collected from a questionnaire with 86 respondents while qualitative data were collected from indepth interviews with 9 key informants. Quantitative data were analyzed using T-test, One-Way ANOVA and multiple regression while qualitative data were analyzed using content analysis. The findings revealed that overall, health operations were at a high level (X = 2.452, SD = .397). Factors influencing and predicting health performance score of local administrative organizations with significance at .05 included type of sector, personnel qualification, and organizational structures. Such factors could be jointly employed to forecast overall health operations for 56.60% (Adjusted R2 = 0.566, p <.001). The results of policy-based suggestion synthesis could be summarized in four issues including 1) planning effective personnel management, 2) developing workforce and strengthening potential regarding health management, 3) promoting health services and developing networks to conduct strong operations and 4) developing and improving regulations/laws for effective work management and developing improved health operations of local administrative organizations. 2022-07-20T03:53:25Z 2022-07-20T03:53:25Z 2565-07-20 2561 Article วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 48, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2561), 418-430 2697-584X (Print) 2697-5866 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72191 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์ โครงการจัดตั้งวิทยาเขตนครสวรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา factors affecting health operations local administrative organization Chachoengsao Province |
spellingShingle |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา factors affecting health operations local administrative organization Chachoengsao Province ญาดา เรียมริมมะดัน อนุสรณ์ อุดปล้อง Yada Reamrimmadan Anusorn Udplong ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
description |
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน มีวัตถุ
ประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน
ทางด้านสุขภาพ และสังเคราะห์ข้อเสนอแนะเชิง
นโยบายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของจังหวัด
ฉะเชิงเทรา เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่าง
จำนวน 86 คน เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูล
คนสำคัญ จำนวน 9 คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
โดยการทดสอบค่าที การหาความแปรปรวนทางเดียว
และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิง
คุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า
ผลการดำเนินงานด้านสุขภาพในภาพรวมอยู่ในระดับสูง
(X = 2.452, SD = .397) ปัจจัยที่ส่งผลและสามารถ
พยากรณ์คะแนนการดำเนินงานด้านสุขภาพของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ที่ระดับ .05 ได้แก่ ประเภทหน่วยงาน คุณวุฒิของ
บุคลากร และโครงสร้างภายในองค์กร ตัวแปรทั้งหมด
สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการดำเนินงานด้านสุขภาพ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ร้อยละ 56.60
(Adjusted R2 = 0.566, p < .001) ผลการสังเคราะห์
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สรุปได้ 4 ประเด็น ได้แก่
1. การวางแผนบริหารอัตรากำลังคนในการรับผิดชอบ
ดำเนินการทางด้านสุขภาพ 2. การพัฒนาความสามารถ
บุคลากรที่มีอยู่และเสริมสร้างศักยภาพในการดำเนินงาน
ด้านสุขภาพให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 3. ส่งเสริม
ให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือการทำงานร่วมกับองค์กร
อื่น ๆ ในการดำเนินงานด้านสุขภาพ และ 4. การ
พัฒนาและปรับปรุงระเบียบ/กฎหมายให้บริหารงาน
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
author2 |
มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ ญาดา เรียมริมมะดัน อนุสรณ์ อุดปล้อง Yada Reamrimmadan Anusorn Udplong |
format |
Article |
author |
ญาดา เรียมริมมะดัน อนุสรณ์ อุดปล้อง Yada Reamrimmadan Anusorn Udplong |
author_sort |
ญาดา เรียมริมมะดัน |
title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_short |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_full |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_fullStr |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
title_sort |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดฉะเชิงเทรา |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72191 |
_version_ |
1763491314312151040 |