การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน

บทนำ: แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านภายหลังได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม จำเป็นต้องมีการทดลองใช้เพื่อประเมินผลลัพธ์และนำไปปรับปรุง วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ปาริชาติ พรสวัสดิ์ชัย, สุจิตรา เอื้อเฟื้อ, โยธกา ปัญญาเตียม, วรรณภา เย็นศิริกุล, อนงค์ ดิษฐสังข์, Parichart Pronsawatchai, Suchitra Auefuea, Yothaga Phanyateaim, Wannapa Yensirikul, Anong Dittasung
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
TKA
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72206
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72206
record_format dspace
spelling th-mahidol.722062023-03-31T07:52:56Z การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Comparison of Knowledge, Skills of Exercise and Ambulation, Outcome of Care and Quality of Life Before and After Implementing the Hospital to Homecare Pathway for Patients With Total Knee Arthroplasty ปาริชาติ พรสวัสดิ์ชัย สุจิตรา เอื้อเฟื้อ โยธกา ปัญญาเตียม วรรณภา เย็นศิริกุล อนงค์ ดิษฐสังข์ Parichart Pronsawatchai Suchitra Auefuea Yothaga Phanyateaim Wannapa Yensirikul Anong Dittasung มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล คุณภาพชีวิต แนวปฏิบัติการพยาบาลที่บ้าน ผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม ผลลัพธ์การพยาบาล Quality of life Homecare pathway TKA Outcome of care Total knee arthroplasty บทนำ: แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านภายหลังได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม จำเป็นต้องมีการทดลองใช้เพื่อประเมินผลลัพธ์และนำไปปรับปรุง วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาลและคุณภาพชีวิต ก่อนได้รับและหลังได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน วิธีการศึกษา: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 1 กลุ่ม วัดก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 50 คน จากหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยมีการให้ความรู้ ฝึกทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน และประเมินผลในวันที่ 0 (ก่อนผ่าตัด) วันที่ 3 (หลังผ่าตัด) วันที่ 10 (เยี่ยมบ้าน) และวันที่ 14 (ตรวจตามนัด) จากนั้นเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติ Paired t test และสถิติ Analysis of variance (ANOVA) ผลการศึกษา: คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P < .001) โดยหลังการใช้แนวปฏิบัติพบว่า คะแนนเฉลี่ยความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน และคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น ค่าเฉลี่ยความเจ็บปวดลดลง และค่าเฉลี่ยองศาการเคลื่อนไหวของข้อเข่าในท่าเหยียดเพิ่มขึ้น และพบผู้ป่วยเพียง 1 คน ที่มีภาวะแทรกซ้อนของแผลผ่าตัดในวันที่ 14 สรุป: แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้านสามารถนำมาใช้เป็นมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้ Background: The hospital to homecare pathway for patients with total knee arthroplasty was developed and needed to be evaluated for effectiveness and improvement. Objective: To compare knowledge, skills of exercise and ambulation, outcomes of nursing care and quality of life before and after implementing the hospital to homecare pathway for patients with total knee arthroplasty (HHPTKA). Methods: This quasi-experimental study was purposively selected 50 cases referred to the home health care unit, ambulatory care nursing service, Ramathibodi Hospital. The HHPTKA included providing and evaluating the knowledge, exercise and ambulation skill, and other outcomes at day 0 (before operation), day 3 (post operation), day 10 (home visit), and day 14 (outpatient follow-up). Data were collected by questionnaire and assessment tools which analyzed by descriptive statistics, paired t test, and analysis of variance (ANOVA). Results: There were statistically significant differences before and after the implementation of HHPTKA (P < .001). Mean scores of knowledge, skills of exercise and ambulation, quality of life, and degree of range of motion of knee were higher than before, pain score was decreased, and knee extension was increased. Only 1 case faced with wound bleeding at day 14 post operation. Conclusions: HHPTKA could direct standard practice for home care nurses. 2022-07-21T07:15:31Z 2022-07-21T07:15:31Z 2565-07-21 2564 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 44, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2564), 29-39 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72206 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ฝ่ายการพยาบาล คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic คุณภาพชีวิต
แนวปฏิบัติการพยาบาลที่บ้าน
ผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
ผลลัพธ์การพยาบาล
Quality of life
Homecare pathway
TKA
Outcome of care
Total knee arthroplasty
spellingShingle คุณภาพชีวิต
แนวปฏิบัติการพยาบาลที่บ้าน
ผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม
ผลลัพธ์การพยาบาล
Quality of life
Homecare pathway
TKA
Outcome of care
Total knee arthroplasty
ปาริชาติ พรสวัสดิ์ชัย
สุจิตรา เอื้อเฟื้อ
โยธกา ปัญญาเตียม
วรรณภา เย็นศิริกุล
อนงค์ ดิษฐสังข์
Parichart Pronsawatchai
Suchitra Auefuea
Yothaga Phanyateaim
Wannapa Yensirikul
Anong Dittasung
การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
description บทนำ: แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเตรียมความพร้อมการดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องที่บ้านภายหลังได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียม จำเป็นต้องมีการทดลองใช้เพื่อประเมินผลลัพธ์และนำไปปรับปรุง วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาลและคุณภาพชีวิต ก่อนได้รับและหลังได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน วิธีการศึกษา: การวิจัยกึ่งทดลองแบบ 1 กลุ่ม วัดก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 50 คน จากหน่วยบริการพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน โรงพยาบาลรามาธิบดี โดยมีการให้ความรู้ ฝึกทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน และประเมินผลในวันที่ 0 (ก่อนผ่าตัด) วันที่ 3 (หลังผ่าตัด) วันที่ 10 (เยี่ยมบ้าน) และวันที่ 14 (ตรวจตามนัด) จากนั้นเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมิน และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติ Paired t test และสถิติ Analysis of variance (ANOVA) ผลการศึกษา: คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (P < .001) โดยหลังการใช้แนวปฏิบัติพบว่า คะแนนเฉลี่ยความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน และคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น ค่าเฉลี่ยความเจ็บปวดลดลง และค่าเฉลี่ยองศาการเคลื่อนไหวของข้อเข่าในท่าเหยียดเพิ่มขึ้น และพบผู้ป่วยเพียง 1 คน ที่มีภาวะแทรกซ้อนของแผลผ่าตัดในวันที่ 14 สรุป: แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้านสามารถนำมาใช้เป็นมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ฝ่ายการพยาบาล
ปาริชาติ พรสวัสดิ์ชัย
สุจิตรา เอื้อเฟื้อ
โยธกา ปัญญาเตียม
วรรณภา เย็นศิริกุล
อนงค์ ดิษฐสังข์
Parichart Pronsawatchai
Suchitra Auefuea
Yothaga Phanyateaim
Wannapa Yensirikul
Anong Dittasung
format Original Article
author ปาริชาติ พรสวัสดิ์ชัย
สุจิตรา เอื้อเฟื้อ
โยธกา ปัญญาเตียม
วรรณภา เย็นศิริกุล
อนงค์ ดิษฐสังข์
Parichart Pronsawatchai
Suchitra Auefuea
Yothaga Phanyateaim
Wannapa Yensirikul
Anong Dittasung
author_sort ปาริชาติ พรสวัสดิ์ชัย
title การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
title_short การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
title_full การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
title_fullStr การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
title_full_unstemmed การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
title_sort การเปรียบเทียบความรู้ ทักษะการออกกำลังกายและการฝึกเดิน ผลลัพธ์ของการพยาบาล และคุณภาพชีวิตก่อนและหลังการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72206
_version_ 1763494105440059392