การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี

การเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างถือว่าเป็นปัญหาทางสุขภาพที่พบในกลุ่มคนงาน ตัดเย็บเสื้อผ้าเนื่องจากคนงานต้องนั่งหรือยืนทำงานในท่วงท่าที่มีความจำกัดตลอดทั้งวัน โดยพฤติกรรมดังกล่าวอาจ ส่งผลต่อความเมื่อยล้าจนก่อให้เกิดปัญหาด้านร่างกาย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิชชาพร บุญสูง, อัมรินทร์ คงทวีเลิศ, ประสงค์, กิติดำรงสุข, เพชรรัตน์ ภูอนันตานนท์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72235
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72235
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การยศาสตร์
ความผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง
คนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า
spellingShingle การยศาสตร์
ความผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง
คนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า
พิชชาพร บุญสูง
อัมรินทร์ คงทวีเลิศ
ประสงค์, กิติดำรงสุข
เพชรรัตน์ ภูอนันตานนท์
การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
description การเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างถือว่าเป็นปัญหาทางสุขภาพที่พบในกลุ่มคนงาน ตัดเย็บเสื้อผ้าเนื่องจากคนงานต้องนั่งหรือยืนทำงานในท่วงท่าที่มีความจำกัดตลอดทั้งวัน โดยพฤติกรรมดังกล่าวอาจ ส่งผลต่อความเมื่อยล้าจนก่อให้เกิดปัญหาด้านร่างกาย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาหาความชุกและประเมินปัญหาการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างของคนงาน ในโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 381 คน ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการรวบรวมข้อมูล โดยใช้ แบบสัมภาษณ์สำหรับเก็บข้อมูลทั่วไป แบบสัมภาษณ์มาตรฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ความผิดปกติของกล้ามเนื้อและ กระดูกฉบับปรับปรุง (Modified Nordic Questionnaire) มาประยุกต์ใช้ และใช้แบบประเมินทางด้านการยศาสตร์ เบื้องต้น ได้แก่แบบประเมิน Rapid Upper Limb Assessment (RULA) และแบบประเมิน Quick Exposure Check (QEC) เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Chi-square และ Logistic regression ผลการศึกษาพบความชุก ร้อยละ 92.7 ของการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ส่วนที่พบมากที่สุด ได้แก่หลังส่วนล่าง ไหล่ และคอ ตามลำดับ และร้อยละ 72.2 ของการ เกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในช่วง 7 วันที่ผ่านมา ส่วนที่พบมากที่สุด ได้แก่คอ ข้อ เท้า/เท้า และหลังส่วนล่าง ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและ กระดูกโครงร่างของคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าได้แก่เพศและตำแหน่งงาน ผลการประเมินท่าทางการทำงานโดยใช้ แบบประเมิน RULA พบว่ามีความเสี่ยงสูง (คะแนนเฉลี่ยรวม 5 คะแนน) ซึ่งหมายถึงงานนั้นเริ่มมีปัญหา ควรรีบ ปรับปรุงทันที ซึ่งผลจากการศึกษานี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงใน การทำงานให้เหมาะสมกับบริบทการทำงาน ให้คนงานได้รับการดูแลสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับ สภาพการณ์การทำงานที่เป็นจริง
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
พิชชาพร บุญสูง
อัมรินทร์ คงทวีเลิศ
ประสงค์, กิติดำรงสุข
เพชรรัตน์ ภูอนันตานนท์
format Article
author พิชชาพร บุญสูง
อัมรินทร์ คงทวีเลิศ
ประสงค์, กิติดำรงสุข
เพชรรัตน์ ภูอนันตานนท์
author_sort พิชชาพร บุญสูง
title การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
title_short การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
title_full การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
title_fullStr การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
title_full_unstemmed การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
title_sort การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72235
_version_ 1763498124113870848
spelling th-mahidol.722352023-03-30T20:03:48Z การประเมินด้านการยศาสตร์ในคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าแห่งหนึ่ง จังหวัดอุบลราชธานี Ergonomic Assesment of Garment Factory Workers in Ubon Ratchathani Province พิชชาพร บุญสูง อัมรินทร์ คงทวีเลิศ ประสงค์, กิติดำรงสุข เพชรรัตน์ ภูอนันตานนท์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาชีวสถิติ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะกายภาพบำบัด การยศาสตร์ ความผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง คนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า การเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างถือว่าเป็นปัญหาทางสุขภาพที่พบในกลุ่มคนงาน ตัดเย็บเสื้อผ้าเนื่องจากคนงานต้องนั่งหรือยืนทำงานในท่วงท่าที่มีความจำกัดตลอดทั้งวัน โดยพฤติกรรมดังกล่าวอาจ ส่งผลต่อความเมื่อยล้าจนก่อให้เกิดปัญหาด้านร่างกาย การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาหาความชุกและประเมินปัญหาการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างของคนงาน ในโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 381 คน ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการรวบรวมข้อมูล โดยใช้ แบบสัมภาษณ์สำหรับเก็บข้อมูลทั่วไป แบบสัมภาษณ์มาตรฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ความผิดปกติของกล้ามเนื้อและ กระดูกฉบับปรับปรุง (Modified Nordic Questionnaire) มาประยุกต์ใช้ และใช้แบบประเมินทางด้านการยศาสตร์ เบื้องต้น ได้แก่แบบประเมิน Rapid Upper Limb Assessment (RULA) และแบบประเมิน Quick Exposure Check (QEC) เพื่อประเมินความเสี่ยงของการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสถิติ Chi-square และ Logistic regression ผลการศึกษาพบความชุก ร้อยละ 92.7 ของการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่าง ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา ส่วนที่พบมากที่สุด ได้แก่หลังส่วนล่าง ไหล่ และคอ ตามลำดับ และร้อยละ 72.2 ของการ เกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและกระดูกโครงร่างในช่วง 7 วันที่ผ่านมา ส่วนที่พบมากที่สุด ได้แก่คอ ข้อ เท้า/เท้า และหลังส่วนล่าง ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดอาการผิดปกติทางระบบกล้ามเนื้อและ กระดูกโครงร่างของคนงานโรงงานตัดเย็บเสื้อผ้าได้แก่เพศและตำแหน่งงาน ผลการประเมินท่าทางการทำงานโดยใช้ แบบประเมิน RULA พบว่ามีความเสี่ยงสูง (คะแนนเฉลี่ยรวม 5 คะแนน) ซึ่งหมายถึงงานนั้นเริ่มมีปัญหา ควรรีบ ปรับปรุงทันที ซึ่งผลจากการศึกษานี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการสร้างเสริมสุขภาพและลดความเสี่ยงใน การทำงานให้เหมาะสมกับบริบทการทำงาน ให้คนงานได้รับการดูแลสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับ สภาพการณ์การทำงานที่เป็นจริง Musculoskeletal disorders are common health problem among garment workers because workers have to sit or stand in limited postures throughout the day, such behaviors can cause fatigue and cause physical problems. This study is cross-sectional descriptive study which aimed to evaluate the prevalence and assess problems of musculoskeletal disorders among garment factory workers in Ubon Ratchathani Province, Thailand. A total of 381 participants were enrolled, took about 3 months to collect information and interviewed to collect personal information by questionnaire. Modified Nordic Questionnaires were used for a musculoskeletal disorders analysis. Statistic comparison between two groups was analyzed by Chi-square and Logistic regression. Moreover, initial ergonomics assessment using Rapid Upper Limb Assessment (RULA) and Quick Exposure Check (QEC) to assess the risk of developing musculoskeletal disorders The result of study showed that the prevalence of musculoskeletal disorders during the past 12 months was 92.7%, the most common were the lower back, shoulders and neck, respectively, and over the past 7 days was 72.2%, the most common were neck, ankle/foot and lower back, respectively. Factors associated with the occurrence of musculoskeletal disorders among garment factory workers were gender and job position. The ergonomic assessment by RULA found to be at high risk. (a total average score of 5) means that the task is starting to have problems, should be updated immediately. The results of this study can be used as a baseline to promote health and reduce the risk of working to suit the working context, to provide workers with effective health care in accordance with actual working conditions 2022-07-23T10:24:43Z 2022-07-23T10:24:43Z 2565-07-23 2564 Research Article วารสารสุขศึกษา. ปีที่ 44, ฉบับที่ 2 (ก.ค.- ธ.ค. 2564), 271-281 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72235 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf