การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 (Coronavirus disease 2019) หรือ COVID-19 สามารถแพร่เชื้อได้หลายทางทั้งทางฝอยละออง ทางการสัมผัส หรือทางลมหายใจ โรคนี้เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ยังไม่มียารักษา หรือวัคซีนป้องกัน ทำให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในการ...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Review Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72241 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.72241 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.722412023-03-31T01:25:10Z การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 Patient Transportation During the COVID-19 Pandemic พรรณวิไล ตั้งกุลพานิชย์ จีรนันท์ บริบูรณ์ กษมณฑ์ อร่ามวาณิชย์ Panvilai Tangkulpanich Jeeranun Boriboon Kasamon Ararmvanich มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โรงพยาบาลกาฬสินธุ์. แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 การส่งต่อผู้ป่วย ป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 Patient transferring Infection prevention โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 (Coronavirus disease 2019) หรือ COVID-19 สามารถแพร่เชื้อได้หลายทางทั้งทางฝอยละออง ทางการสัมผัส หรือทางลมหายใจ โรคนี้เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ยังไม่มียารักษา หรือวัคซีนป้องกัน ทำให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล ซึ่งเป็นการทำงานในสถานที่ปิดและอากาศถ่ายเทไม่ดี การประเมินผู้ป่วยก่อนการเดินทางและการเตรียมอุปกรณ์ในการดูแลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดเหตุไม่คาดคิดระหว่างเดินทาง อันจะนำไปสู่การทำหัตถการช่วยเหลือที่มักจะก่อให้เกิดฝอยละอองขนาดเล็ก ดังนั้น หากประเมินแล้วว่าผู้ป่วยอาจเกิดความเสี่ยงในระหว่างส่งต่อ บุคลากรควรทำการใส่หลอดสอดคาท่อลมในโรงพยาบาลก่อนส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ การให้ยาขยายหลอดลมควรเปลี่ยนเป็นการใช้เครื่องมือสูดพ่นยา (Metered-dose inhaler, MDI) แทนการใช้ยาพ่นเป็นละออง ดังนั้น มาตรฐานการทำงานและฝึกฝนควรประกอบด้วย การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกัน (Personal protective equipment, PPE) อย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับบุคลากร รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และขั้นตอนการทำความสะอาด Coronavirus disease 2019 or COVID-19 can be transmitted by several methods, which are droplet, contact, and aerosol transmission. This emerging infectious disease has no specific treatment, vaccines, or medical prophylaxis. As a result, health care workers have a higher risk of infection, especially on inter-hospital patient transferring, which causes the close-contact situation in confined space without good ventilating airflow. Proper pre-transferring evaluation of the patient and equipment preparation is essential for preventing unpredicted events that cause aerosol-generating procedures (AGP). Thus, if a patient is at risk of deterioration between transferring, early intubation in hospital is preferred due to better infection controls. Bronchodilators should be given by metered-dose inhaler (MDI) via spacer instead of nebulization. Furthermore, considering the safety of health care personnel, suitable personal protective equipment (PPE) is critical in the scarce situation, which is as vital as the standard of practice and training on the operations, communications, and cleanings. 2022-07-25T07:19:30Z 2022-07-25T07:19:30Z 2565-07-25 2563 Review Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 43, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2563), 27-33 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72241 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล แผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลกาฬสินธุ์ application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 การส่งต่อผู้ป่วย ป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 Patient transferring Infection prevention |
spellingShingle |
โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 การส่งต่อผู้ป่วย ป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 Patient transferring Infection prevention พรรณวิไล ตั้งกุลพานิชย์ จีรนันท์ บริบูรณ์ กษมณฑ์ อร่ามวาณิชย์ Panvilai Tangkulpanich Jeeranun Boriboon Kasamon Ararmvanich การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
description |
โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 (Coronavirus disease 2019) หรือ COVID-19 สามารถแพร่เชื้อได้หลายทางทั้งทางฝอยละออง ทางการสัมผัส หรือทางลมหายใจ โรคนี้เป็นโรคอุบัติใหม่ที่ยังไม่มียารักษา หรือวัคซีนป้องกัน ทำให้บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่ดูแลผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างโรงพยาบาล ซึ่งเป็นการทำงานในสถานที่ปิดและอากาศถ่ายเทไม่ดี การประเมินผู้ป่วยก่อนการเดินทางและการเตรียมอุปกรณ์ในการดูแลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม ช่วยป้องกันไม่ให้เกิดเหตุไม่คาดคิดระหว่างเดินทาง อันจะนำไปสู่การทำหัตถการช่วยเหลือที่มักจะก่อให้เกิดฝอยละอองขนาดเล็ก ดังนั้น หากประเมินแล้วว่าผู้ป่วยอาจเกิดความเสี่ยงในระหว่างส่งต่อ บุคลากรควรทำการใส่หลอดสอดคาท่อลมในโรงพยาบาลก่อนส่งต่อระหว่างโรงพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ การให้ยาขยายหลอดลมควรเปลี่ยนเป็นการใช้เครื่องมือสูดพ่นยา (Metered-dose inhaler, MDI) แทนการใช้ยาพ่นเป็นละออง ดังนั้น มาตรฐานการทำงานและฝึกฝนควรประกอบด้วย การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกัน (Personal protective equipment, PPE) อย่างเหมาะสม เพื่อให้เกิดความปลอดภัยกับบุคลากร รวมทั้งแนวทางการปฏิบัติงาน การสื่อสาร และขั้นตอนการทำความสะอาด |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน พรรณวิไล ตั้งกุลพานิชย์ จีรนันท์ บริบูรณ์ กษมณฑ์ อร่ามวาณิชย์ Panvilai Tangkulpanich Jeeranun Boriboon Kasamon Ararmvanich |
format |
Review Article |
author |
พรรณวิไล ตั้งกุลพานิชย์ จีรนันท์ บริบูรณ์ กษมณฑ์ อร่ามวาณิชย์ Panvilai Tangkulpanich Jeeranun Boriboon Kasamon Ararmvanich |
author_sort |
พรรณวิไล ตั้งกุลพานิชย์ |
title |
การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
title_short |
การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
title_full |
การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
title_fullStr |
การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
title_full_unstemmed |
การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
title_sort |
การส่งต่อผู้ป่วยในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72241 |
_version_ |
1763494661386665984 |