การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน

บทนำ: การสูญเสียการได้ยินเป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นตามอายุ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและการสื่อสาร นำไปสู่การแยกตัวออกจากสังคม การใส่เครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมช่วยให้ผู้ที่สูญเสียการได้ยินกลับมาสื่อสารและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นจึงควรมีการกำหนดตัวชี้วัดและประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟัง วัตถุประสงค์: เพ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล, วรรณิภา ชูชัย, พงศกร ล้อประเสริฐ, อังคณา เลิศภูมิปัญญา, Rattinan Tiravanitchakul, Wannipha Chuchai, Pongsakorn Lorprasert, Angkana Lertpoompunya
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72262
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.72262
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผลลัพธ์
ตัวชี้วัด
เครื่องช่วยฟัง
การสูญเสียการได้ยิน
Outcomes
Indicators
Hearing aids
Hearing loss
spellingShingle ผลลัพธ์
ตัวชี้วัด
เครื่องช่วยฟัง
การสูญเสียการได้ยิน
Outcomes
Indicators
Hearing aids
Hearing loss
รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล
วรรณิภา ชูชัย
พงศกร ล้อประเสริฐ
อังคณา เลิศภูมิปัญญา
Rattinan Tiravanitchakul
Wannipha Chuchai
Pongsakorn Lorprasert
Angkana Lertpoompunya
การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน
description บทนำ: การสูญเสียการได้ยินเป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นตามอายุ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและการสื่อสาร นำไปสู่การแยกตัวออกจากสังคม การใส่เครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมช่วยให้ผู้ที่สูญเสียการได้ยินกลับมาสื่อสารและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นจึงควรมีการกำหนดตัวชี้วัดและประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟัง วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลลัพธ์ของการให้บริการเครื่องช่วยฟังและศึกษาปัญหาอุปสรรคในการใช้งานเครื่องช่วยฟังตามการรับรู้ของผู้รับบริการ วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบย้อนหลังโดยรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนของกลุ่มตัวอย่างผู้มารับบริการเครื่องช่วยฟัง ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 634 คน ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล จากนั้นวิเคราะห์เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างขณะใส่เครื่องช่วยฟังและไม่ใส่เครื่องช่วยฟังโดยใช้สถิติ Paired t test และสังเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการใช้งานเครื่องช่วยฟังโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา: ผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 634 คน พบว่า ค่าเฉลี่ยการได้ยินและร้อยละของการประเมินความสามารถในการจำแนกคำพูดด้วยการฟังและพูดตามคำพูดหนึ่งพยางค์ในแต่ละระดับของการสูญเสียการได้ยินขณะใส่เครื่องช่วยฟังและไม่ใส่เครื่องช่วยฟัง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .01) ภาพรวมความพึงพอใจต่อการรับบริการและการใช้เครื่องช่วยฟังมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 และ 4.34 ตามลำดับ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เครื่องช่วยฟัง ได้แก่ การสื่อสาร การใช้งาน และการดูแลเครื่องช่วยฟังและแบบพิมพ์หู สรุป: ผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังของโรงพยาบาลรามาธิบดี ขณะใส่เครื่องช่วยฟังผู้รับบริการได้ยินเสียงและสื่อสารได้เพิ่มขึ้น มีความพึงพอใจต่อการให้บริการและการใช้เครื่องช่วยฟังที่ได้รับตามตัวชี้วัดที่กำหนด
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย
รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล
วรรณิภา ชูชัย
พงศกร ล้อประเสริฐ
อังคณา เลิศภูมิปัญญา
Rattinan Tiravanitchakul
Wannipha Chuchai
Pongsakorn Lorprasert
Angkana Lertpoompunya
format Original Article
author รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล
วรรณิภา ชูชัย
พงศกร ล้อประเสริฐ
อังคณา เลิศภูมิปัญญา
Rattinan Tiravanitchakul
Wannipha Chuchai
Pongsakorn Lorprasert
Angkana Lertpoompunya
author_sort รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล
title การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน
title_short การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน
title_full การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน
title_fullStr การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน
title_full_unstemmed การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน
title_sort การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72262
_version_ 1763492040263335936
spelling th-mahidol.722622023-03-31T01:25:24Z การประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังสำหรับผู้รับบริการที่มีปัญหาสูญเสียการได้ยิน Assessment of Hearing Aids Outcomes for Patients With Hearing Loss รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล วรรณิภา ชูชัย พงศกร ล้อประเสริฐ อังคณา เลิศภูมิปัญญา Rattinan Tiravanitchakul Wannipha Chuchai Pongsakorn Lorprasert Angkana Lertpoompunya มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โครงการดูแลการได้ยินครบวงจร ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด เครื่องช่วยฟัง การสูญเสียการได้ยิน Outcomes Indicators Hearing aids Hearing loss บทนำ: การสูญเสียการได้ยินเป็นปัญหาที่เพิ่มขึ้นตามอายุ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและการสื่อสาร นำไปสู่การแยกตัวออกจากสังคม การใส่เครื่องช่วยฟังที่เหมาะสมช่วยให้ผู้ที่สูญเสียการได้ยินกลับมาสื่อสารและมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นจึงควรมีการกำหนดตัวชี้วัดและประเมินผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟัง วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลลัพธ์ของการให้บริการเครื่องช่วยฟังและศึกษาปัญหาอุปสรรคในการใช้งานเครื่องช่วยฟังตามการรับรู้ของผู้รับบริการ วิธีการศึกษา: การศึกษาแบบย้อนหลังโดยรวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนของกลุ่มตัวอย่างผู้มารับบริการเครื่องช่วยฟัง ณ โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 634 คน ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ถึงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล จากนั้นวิเคราะห์เปรียบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างขณะใส่เครื่องช่วยฟังและไม่ใส่เครื่องช่วยฟังโดยใช้สถิติ Paired t test และสังเคราะห์ปัญหาอุปสรรคในการใช้งานเครื่องช่วยฟังโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษา: ผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 634 คน พบว่า ค่าเฉลี่ยการได้ยินและร้อยละของการประเมินความสามารถในการจำแนกคำพูดด้วยการฟังและพูดตามคำพูดหนึ่งพยางค์ในแต่ละระดับของการสูญเสียการได้ยินขณะใส่เครื่องช่วยฟังและไม่ใส่เครื่องช่วยฟัง มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < .01) ภาพรวมความพึงพอใจต่อการรับบริการและการใช้เครื่องช่วยฟังมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64 และ 4.34 ตามลำดับ ปัญหาและอุปสรรคในการใช้เครื่องช่วยฟัง ได้แก่ การสื่อสาร การใช้งาน และการดูแลเครื่องช่วยฟังและแบบพิมพ์หู สรุป: ผลลัพธ์การให้บริการเครื่องช่วยฟังของโรงพยาบาลรามาธิบดี ขณะใส่เครื่องช่วยฟังผู้รับบริการได้ยินเสียงและสื่อสารได้เพิ่มขึ้น มีความพึงพอใจต่อการให้บริการและการใช้เครื่องช่วยฟังที่ได้รับตามตัวชี้วัดที่กำหนด Background: Age-related hearing loss is a vital problem that impacts daily living including communication, socialization, and wellbeing. To be fitted with appropriate hearing aids can certainly improve quality of life. Therefore, it is essential to develop a set of indicators that will be used to measure hearing aids outcomes. Objectives: To determine the effectiveness of hearing-aid outcomes and to examine common hearing aid problems. Methods: A retrospective analysis of medical records of 634 patients receiving hearing aids services at Ramathibodi Hospital from July 2015 to June 2016, was performed. Data were collected using a data collection form and were examined by conducting descriptive analysis and paired t tests. Common hearing aid problems were analyzed using qualitative content analysis. Results: Of 634 patients receiving hearing aids services, the average hearing thresholds and speech recognition scores among with and without hearing aids, across a range of hearing loss, were statistically significant (P < .01). Patients’ satisfaction on hospital services, and on hearing aids were 4.64 and 4.34, respectively. Common hearing aid problems were communication strategy, hearing aid manipulation, and routine maintenance of hearing aids and/or ear molds. Conclusions: Patients receiving hearing aids services from Ramathibodi Hospital reported better speech sound hearing and communication. They were satisfied with hospital services and hearing aids on defined indicators. 2022-07-27T08:32:15Z 2022-07-27T08:32:15Z 2565-07-27 2562 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 42, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2562), 25-34 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/72262 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล โครงการดูแลการได้ยินครบวงจร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf