การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เพื่อเปรียบเทียบการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครู ตามตัวแปร เพศ ศาสนา ระดับ การศึกษา สังกัดของโรงเรียน และภูมิลำเนา และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจในวัฒนธรรมกับการ ยอมรับความหลากหล...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: บัญญัติ ยงย่วน, จิระพันธ์ เดมะ, อินทิรา หิรัญสาย
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
Format: Article
Language:Thai
Published: 2016
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/7763
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.7763
record_format dspace
spelling th-mahidol.77632023-04-12T15:25:27Z การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย บัญญัติ ยงย่วน จิระพันธ์ เดมะ อินทิรา หิรัญสาย มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. คณะศึกษาศาสตร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1 การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม ความเข้าใจในวัฒนธรรม ครูระดับประถมศึกษา ประเทศไทย cultural understanding primary school teachers respect for cultural diversity Thailand การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เพื่อเปรียบเทียบการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครู ตามตัวแปร เพศ ศาสนา ระดับ การศึกษา สังกัดของโรงเรียน และภูมิลำเนา และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจในวัฒนธรรมกับการ ยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา ในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ คือ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส จำนวน 792 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสำรวจ การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม และแบบวัดความเข้าใจในวัฒนธรรม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ครูไทยมุสลิมยอมรับ ความหลากหลายวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ ภาษา ศาสนา ขนบประเพณี วิถีชีวิต และรวมทุกด้าน อยู่ในระดับ ค่อนข้างสูง ขณะที่ครูไทยพุทธยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ ศาสนา ขนบประเพณี วิถีชีวิต และรวมทุกด้าน อยู่ในระดับค่อนข้างสูง แต่การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมด้านภาษา อยู่ในระดับ ปานกลาง ครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีความแตกต่างกันด้านเพศ ศาสนา ระดับการศึกษา สังกัดของ โรงเรียน และภูมิลำเนา มีการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และพบว่า ความเข้าใจในวัฒนธรรมของครู ด้านชาติพันธุ์ ด้านภาษา ด้านขนบประเพณี ด้านวิถีชีวิต และความเข้าใจใน วัฒนธรรมโดยรวม มีความสัมพันธ์กับ การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมในทิศทางบวก 2016-02-25T07:00:21Z 2017-08-31T03:30:52Z 2016-02-25T07:00:21Z 2017-08-31T03:30:52Z 2559-02-25 2553-09 Research Article วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ปีที่ 16, ฉบับที่ 5(2553), 742-758. https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/7763 tha มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม
ความเข้าใจในวัฒนธรรม
ครูระดับประถมศึกษา
ประเทศไทย
cultural understanding
primary school teachers
respect for cultural diversity
Thailand
spellingShingle การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม
ความเข้าใจในวัฒนธรรม
ครูระดับประถมศึกษา
ประเทศไทย
cultural understanding
primary school teachers
respect for cultural diversity
Thailand
บัญญัติ ยงย่วน
จิระพันธ์ เดมะ
อินทิรา หิรัญสาย
การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ เพื่อเปรียบเทียบการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครู ตามตัวแปร เพศ ศาสนา ระดับ การศึกษา สังกัดของโรงเรียน และภูมิลำเนา และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจในวัฒนธรรมกับการ ยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครู กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนระดับประถมศึกษา ในสามจังหวัด ชายแดนภาคใต้ คือ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส จำนวน 792 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสำรวจ การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรม และแบบวัดความเข้าใจในวัฒนธรรม สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ครูไทยมุสลิมยอมรับ ความหลากหลายวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ ภาษา ศาสนา ขนบประเพณี วิถีชีวิต และรวมทุกด้าน อยู่ในระดับ ค่อนข้างสูง ขณะที่ครูไทยพุทธยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมด้านชาติพันธุ์ ศาสนา ขนบประเพณี วิถีชีวิต และรวมทุกด้าน อยู่ในระดับค่อนข้างสูง แต่การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมด้านภาษา อยู่ในระดับ ปานกลาง ครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีความแตกต่างกันด้านเพศ ศาสนา ระดับการศึกษา สังกัดของ โรงเรียน และภูมิลำเนา มีการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และพบว่า ความเข้าใจในวัฒนธรรมของครู ด้านชาติพันธุ์ ด้านภาษา ด้านขนบประเพณี ด้านวิถีชีวิต และความเข้าใจใน วัฒนธรรมโดยรวม มีความสัมพันธ์กับ การยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมในทิศทางบวก
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว
บัญญัติ ยงย่วน
จิระพันธ์ เดมะ
อินทิรา หิรัญสาย
format Article
author บัญญัติ ยงย่วน
จิระพันธ์ เดมะ
อินทิรา หิรัญสาย
author_sort บัญญัติ ยงย่วน
title การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
title_short การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
title_full การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
title_fullStr การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
title_full_unstemmed การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
title_sort การสำรวจการยอมรับความหลากหลายวัฒนธรรมของครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย
publishDate 2016
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/7763
_version_ 1781414877377593344