การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
กระบวนการเรียนรู้ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตควรมีกระบวนการทบทวนและพัฒนา เพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของระบบบริการสุขภาพที่ซับซ้อน แพทย์จำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถทั้งด้านการแพทย์ การสื่อสาร และการทำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ ปัจจุบันการเรียนแบบใช...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79518 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79518 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.795182023-03-31T03:49:13Z การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต Team-Based Learning in Medical Curriculum สุธิดา สัมฤทธิ์ Sutida Sumrithe มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ การเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐาน ห้องเรียนกลับด้าน แพทยศาสตรศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต Team-based learning Flipped classroom Medical education Medical curriculum กระบวนการเรียนรู้ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตควรมีกระบวนการทบทวนและพัฒนา เพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของระบบบริการสุขภาพที่ซับซ้อน แพทย์จำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถทั้งด้านการแพทย์ การสื่อสาร และการทำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ ปัจจุบันการเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐาน (Team-based learning, TBL) เป็นวิธีการสอนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในโรงเรียนแพทย์ เนื่องจากมีผลดีต่อการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และการทำงานเป็นทีม จากกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาบทเรียนก่อนเข้าชั้นเรียน ผู้สอนสามารถใช้เวลาในห้องเรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในระดับที่สูงกว่าการสอนแบบบรรยาย ทั้งนี้ การเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐานจะเกิดประสิทธิภาพนั้น สถาบันผลิตแพทย์ควรมีการวางแผนการบริหารจัดการ การพัฒนาอาจารย์ และพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐาน The learning process in medical curriculum needs continuous improvement to accomplish the goal of producing graduates adapt ability to the complexity of changing health system. Physicians are required to have competencies in medical knowledge, communication skill, and multidisciplinary teamwork skill. Nowadays, team-based learning (TBL) is widely used in medical schools because it has positive effects on developing critical thinking and working as a team member. The learning process is designed to be student-centered approach, where team of learners are assigned to study the lesson before class. This allows teachers to spend more time in the classroom activities to promote higher level of thinking than lecturing. In order to make TBL effectively, medical schools should have administrative planning, faculty development and learning resources development which are critical factors for success of Team-Based Learning. 2022-09-13T04:43:40Z 2022-09-13T04:43:40Z 2565-09-13 2561 Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 41, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2561), 135-142 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79518 tha มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
การเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐาน ห้องเรียนกลับด้าน แพทยศาสตรศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต Team-based learning Flipped classroom Medical education Medical curriculum |
spellingShingle |
การเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐาน ห้องเรียนกลับด้าน แพทยศาสตรศึกษา หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต Team-based learning Flipped classroom Medical education Medical curriculum สุธิดา สัมฤทธิ์ Sutida Sumrithe การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต |
description |
กระบวนการเรียนรู้ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตควรมีกระบวนการทบทวนและพัฒนา เพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของระบบบริการสุขภาพที่ซับซ้อน แพทย์จำเป็นต้องมีความรู้ความสามารถทั้งด้านการแพทย์ การสื่อสาร และการทำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ ปัจจุบันการเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐาน (Team-based learning, TBL) เป็นวิธีการสอนที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในโรงเรียนแพทย์ เนื่องจากมีผลดีต่อการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และการทำงานเป็นทีม จากกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ได้ออกแบบให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาบทเรียนก่อนเข้าชั้นเรียน ผู้สอนสามารถใช้เวลาในห้องเรียนเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในระดับที่สูงกว่าการสอนแบบบรรยาย ทั้งนี้ การเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐานจะเกิดประสิทธิภาพนั้น สถาบันผลิตแพทย์ควรมีการวางแผนการบริหารจัดการ การพัฒนาอาจารย์ และพัฒนาทรัพยากรการเรียนรู้ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการเรียนแบบใช้ทีมเป็นฐาน |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์ สุธิดา สัมฤทธิ์ Sutida Sumrithe |
format |
Article |
author |
สุธิดา สัมฤทธิ์ Sutida Sumrithe |
author_sort |
สุธิดา สัมฤทธิ์ |
title |
การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต |
title_short |
การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต |
title_full |
การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต |
title_fullStr |
การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต |
title_full_unstemmed |
การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต |
title_sort |
การเรียนรู้แบบทีมในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79518 |
_version_ |
1763497516029968384 |