การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ
ความเจ็บปวดในกลุ่มประชากรผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นความเจ็บปวดเรื้อรังที่ส่งผลภาวะสุขภาพเป็นระยะเวลามากกว่า 3 เดือนขึ้นไป ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกายและจิตใจต่อผู้สูงอายุและผู้ดูแล จากการศึกษาพบว่า พยาธิสภาพของการเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุประกอบไปด้วย 4 กลไกหลักที่ส่งผลในรักษาที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Review Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79545 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79545 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.795452023-03-30T19:31:23Z การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ Chronic Pain Assessment in the Elderly ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล อรพิชญา ไกรฤทธิ์ Sirasa Ruangritchankul Orapitchaya Krairit มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์ ความเจ็บปวดเรื้อรัง ผู้สูงอายุ เครื่องมือประเมินความเจ็บปวด Chronic pain Older adults Pain assessment tools ความเจ็บปวดในกลุ่มประชากรผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นความเจ็บปวดเรื้อรังที่ส่งผลภาวะสุขภาพเป็นระยะเวลามากกว่า 3 เดือนขึ้นไป ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกายและจิตใจต่อผู้สูงอายุและผู้ดูแล จากการศึกษาพบว่า พยาธิสภาพของการเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุประกอบไปด้วย 4 กลไกหลักที่ส่งผลในรักษาที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความเจ็บปวดที่มีสาเหตุจากการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ จากการบาดเจ็บเส้นประสาท จากการบาดเจ็บร่วมกันของเนื้อเยื่อและเส้นประสาท หรือจากภาวะจิตใจและอารมณ์ ซึ่งความเจ็บปวดเรื้อรังเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกาย ได้แก่ เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตสูง อยากอาหารน้อยลง มีปัญหาการนอนหลับ และส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจและสังคม เช่น ภาวะซึมเศร้าและวิตกกังวล การประเมินความเจ็บปวดในผู้สูงอายุนอกจากการซักประวัติและตรวจร่างกายแล้ว ยังมีการประเมินโดยใช้เครื่องมือวัดความรุนแรงของความเจ็บปวด การเลือกเครื่องมือประเมินขึ้นอยู่กับการรู้คิดและความสามารถในการสื่อสารของผู้สูงอายุในแต่ละราย อย่างไรก็ตาม ผู้สูงอายุมีอุปสรรคในการประเมินภาวะเจ็บปวด ได้แก่ ปัญหาการมองเห็น ปัญหาการได้ยิน และปัญหาด้านความจำ ซึ่งเป็นอุปสรรคในการสื่อสารและการแปลผลการประเมิน เครื่องมือการประเมินความเจ็บปวดที่สามารถประเมินความเจ็บปวดได้อย่างละเอียดที่สุดคือ เครื่องมือวัดความปวดในหลายด้าน (Multidimensional tool) ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดคือ แบบประเมินความเจ็บปวดของแมคกิลล์แบบย่อ (Short-form McGill pain questionnaire, SF-MPQ) ซึ่งเหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการสื่อสารและไม่มีปัญหาด้านความจำบกพร่อง Most elderly population suffer from chronic pain which lasts for more than three months. Chronic pain has an effect on physical and psychological status as well as caregivers. Pathophysiology of chronic pain comprises four categories including nociceptive pain, neuropathic pain, mixed pain, and psychological pain. Chronic pain has negative impact on physical health such as tachycardia, hypertension, anorexia, and sleep disturbance; and on psychological health including depression and anxiety. The elderly with chronic pain are evaluated by physicians and nurses in terms of taking histories, physical examination, and applying pain assessment tools to identify severity of pain. Choice of pain assessment tools for older adults is based on individual such as cognitive function and communication skills. However, many physicians cannot precisely evaluate pain among the elderly due to visual, auditory, and cognitive impairment, leading to obstacles in communication and assessment. The best chronic pain assessment tool is multidimensional tool which can accurately identify severity and types of pain. The most common used multidimensional tool in practical is short-form McGill pain questionnaire (SF-MPQ). However, multidimensional tool is only appropriate in the elderly without communication problems and cognitive impairment. 2022-09-15T08:45:22Z 2022-09-15T08:45:22Z 2565-09-15 2561 Review Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 41, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ก.ย. 2561), 92-99 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79545 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ความเจ็บปวดเรื้อรัง ผู้สูงอายุ เครื่องมือประเมินความเจ็บปวด Chronic pain Older adults Pain assessment tools |
spellingShingle |
ความเจ็บปวดเรื้อรัง ผู้สูงอายุ เครื่องมือประเมินความเจ็บปวด Chronic pain Older adults Pain assessment tools ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล อรพิชญา ไกรฤทธิ์ Sirasa Ruangritchankul Orapitchaya Krairit การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ |
description |
ความเจ็บปวดในกลุ่มประชากรผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นความเจ็บปวดเรื้อรังที่ส่งผลภาวะสุขภาพเป็นระยะเวลามากกว่า 3 เดือนขึ้นไป ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกายและจิตใจต่อผู้สูงอายุและผู้ดูแล จากการศึกษาพบว่า พยาธิสภาพของการเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุประกอบไปด้วย 4 กลไกหลักที่ส่งผลในรักษาที่แตกต่างกัน ได้แก่ ความเจ็บปวดที่มีสาเหตุจากการบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ จากการบาดเจ็บเส้นประสาท จากการบาดเจ็บร่วมกันของเนื้อเยื่อและเส้นประสาท หรือจากภาวะจิตใจและอารมณ์ ซึ่งความเจ็บปวดเรื้อรังเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสภาพร่างกาย ได้แก่ เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิตสูง อยากอาหารน้อยลง มีปัญหาการนอนหลับ และส่งผลกระทบต่อสภาพจิตใจและสังคม เช่น ภาวะซึมเศร้าและวิตกกังวล การประเมินความเจ็บปวดในผู้สูงอายุนอกจากการซักประวัติและตรวจร่างกายแล้ว ยังมีการประเมินโดยใช้เครื่องมือวัดความรุนแรงของความเจ็บปวด การเลือกเครื่องมือประเมินขึ้นอยู่กับการรู้คิดและความสามารถในการสื่อสารของผู้สูงอายุในแต่ละราย อย่างไรก็ตาม ผู้สูงอายุมีอุปสรรคในการประเมินภาวะเจ็บปวด ได้แก่ ปัญหาการมองเห็น ปัญหาการได้ยิน และปัญหาด้านความจำ ซึ่งเป็นอุปสรรคในการสื่อสารและการแปลผลการประเมิน เครื่องมือการประเมินความเจ็บปวดที่สามารถประเมินความเจ็บปวดได้อย่างละเอียดที่สุดคือ เครื่องมือวัดความปวดในหลายด้าน (Multidimensional tool) ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดคือ แบบประเมินความเจ็บปวดของแมคกิลล์แบบย่อ (Short-form McGill pain questionnaire, SF-MPQ) ซึ่งเหมาะสำหรับผู้สูงอายุที่มีความสามารถในการสื่อสารและไม่มีปัญหาด้านความจำบกพร่อง |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาอายุรศาสตร์ ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล อรพิชญา ไกรฤทธิ์ Sirasa Ruangritchankul Orapitchaya Krairit |
format |
Review Article |
author |
ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล อรพิชญา ไกรฤทธิ์ Sirasa Ruangritchankul Orapitchaya Krairit |
author_sort |
ศิรสา เรืองฤทธิ์ชาญกุล |
title |
การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ |
title_short |
การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ |
title_full |
การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ |
title_fullStr |
การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ |
title_full_unstemmed |
การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ |
title_sort |
การประเมินความเจ็บปวดเรื้อรังในผู้สูงอายุ |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79545 |
_version_ |
1763496976143351808 |