การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ

บทนำ: การใส่ท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกคอ ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บของกระดูกต้นคอเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์ชนิดใหม่ๆ ช่วยในการใส่ท่อช่วยหายใจ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บที่กระดูกคอ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ไชยพร ยุกเซ็น, ธิดาทิต ประชานุกูล, วัชรพงศ์ ชินศุภลักษณ์, ธาวินี ไตรณรงค์สกุล, Chaiyaporn Yuksen, Thidathit Prachanukool, Watcharapong Chinsupaluk, Thavinee Trainarongsakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79669
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79669
record_format dspace
spelling th-mahidol.796692023-03-30T20:56:17Z การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ Videolaryngoscope versus Macintosh Laryngoscope in Stimulated Patients With Limitation of Neck Movements ไชยพร ยุกเซ็น ธิดาทิต ประชานุกูล วัชรพงศ์ ชินศุภลักษณ์ ธาวินี ไตรณรงค์สกุล Chaiyaporn Yuksen Thidathit Prachanukool Watcharapong Chinsupaluk Thavinee Trainarongsakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน Glidescope video larygoscope Macintosh larygoscope บทนำ: การใส่ท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกคอ ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บของกระดูกต้นคอเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์ชนิดใหม่ๆ ช่วยในการใส่ท่อช่วยหายใจ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บที่กระดูกคอ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Glidescope video laryngoscope (GVL) เปรียบเทียบกับ Macintosh laryngoscope (ML) ในหุ่นจำลองที่ใส่เฝือกคอเพื่อจำกัดการเคลื่อนไหวของกระดูกคอ วิธีการศึกษา: ผู้เข้าร่วมการวิจัยมี 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจ (แพทย์ประจำบ้าน) และกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจ (นักศึกษาแพทย์ปีที่ 5) สุ่มทำการใส่ท่อช่วยหายใจโดยวิธี Glidescope video laryngoscope (GVL) เปรียบเทียบกับ Macintosh laryngoscope (ML) กับหุ่นจำลองที่ใส่เฝือกคอ ข้อมูลที่บันทึกคือ เวลาที่ใช้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ อัตราความสำเร็จในการใส่ท่อช่วยหายใจ จำนวนครั้งในการใส่ท่อช่วยหายและมุมการมองเห็นกล่องเสียง (Cormack-Lehane classification) ผลการศึกษา: เวลาที่ใช้ในการใส่ท่อช่วยหายใจสำเร็จโดยวิธี ML น้อยกว่า GVL อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจมาก่อน แต่ในกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์พบว่าใช้เวลาในการใส่ท่อช่วยหายใจไม่แตกต่างกัน อัตราความสำเร็จในการใส่ท่อช่วยหายใจของอุปกรณ์ทั้งสองชนิดไม่มีความแตกต่างกัน ในขณะที่มุมการมองเห็นกล่องเสียงของการใส่ท่อช่วยหายใจโดยวิธี GVL ดีกว่าวิธี ML อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจ สรุป: GVL มีมุมการมองเห็นกล่องเสียงดีกว่า ML แต่ใช้เวลาในการใส่ท่อช่วยหายใจเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 6 วินาที GVL มีข้อดีกว่า ML ในการใส่ท่อช่วยหายใจในกรณีที่คาดว่าจะใส่ท่อช่วยหายใจลำบาก โดยเฉพาะในกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์การใส่ท่อช่วยหายใจมาก่อนแต่จะใช้เวลาในการใส่ท่อช่วยหายใจนานขึ้น Background: Endotracheal intubation in patients with suspect cervical spine injury must be done with carefulness because it could cause injury to the cervical spine. Modern equipment are used to help intubation, especially for patients who suspect cervical spine injury. Objective: To compare the Glidescope video laryngoscope (GVL) with the Macintosh laryngoscope (ML) in manikin with cervical collars. Methods: 2 groups of participants (Emergency resident: experienced in intubation and 5th year medical students : inexperience in intubation) were randomized to intubate by Glidescope video laryngoscope (GVL) and Macintosh laryngoscope (ML) on a manikin wearing a cervical collar. The time required to intubate, the success rate, the number of intubation attemps and Cormack-Lehane classification (CL) were recorded. Results: The mean time to intubation was significantly shorter with ML than with GVL especially in experienced group. But for inexperienced group, time to intubation was not different. There was no difference in the success rate of tracheal intubation between GVL and ML. The view of the glottis (CL) was significantly better with the GVL than with the ML especially in inexperienced medical student. Conclusions: GVL provided better laryngeal view than ML, but it look an additional 6 seconds for tracheal intubation. It had potential advantages over ML for difficult intubation especially in inexperienced medical student. But it had a longer time to intubation. 2022-09-27T03:40:53Z 2022-09-27T03:40:53Z 2565-09-27 2557 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 37, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2557), 71-80 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79669 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic Glidescope video larygoscope
Macintosh larygoscope
spellingShingle Glidescope video larygoscope
Macintosh larygoscope
ไชยพร ยุกเซ็น
ธิดาทิต ประชานุกูล
วัชรพงศ์ ชินศุภลักษณ์
ธาวินี ไตรณรงค์สกุล
Chaiyaporn Yuksen
Thidathit Prachanukool
Watcharapong Chinsupaluk
Thavinee Trainarongsakul
การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
description บทนำ: การใส่ท่อช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกคอ ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะอาจทำให้เกิดการบาดเจ็บของกระดูกต้นคอเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันมีการใช้อุปกรณ์ชนิดใหม่ๆ ช่วยในการใส่ท่อช่วยหายใจ โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับการบาดเจ็บที่กระดูกคอ วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Glidescope video laryngoscope (GVL) เปรียบเทียบกับ Macintosh laryngoscope (ML) ในหุ่นจำลองที่ใส่เฝือกคอเพื่อจำกัดการเคลื่อนไหวของกระดูกคอ วิธีการศึกษา: ผู้เข้าร่วมการวิจัยมี 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจ (แพทย์ประจำบ้าน) และกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจ (นักศึกษาแพทย์ปีที่ 5) สุ่มทำการใส่ท่อช่วยหายใจโดยวิธี Glidescope video laryngoscope (GVL) เปรียบเทียบกับ Macintosh laryngoscope (ML) กับหุ่นจำลองที่ใส่เฝือกคอ ข้อมูลที่บันทึกคือ เวลาที่ใช้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ อัตราความสำเร็จในการใส่ท่อช่วยหายใจ จำนวนครั้งในการใส่ท่อช่วยหายและมุมการมองเห็นกล่องเสียง (Cormack-Lehane classification) ผลการศึกษา: เวลาที่ใช้ในการใส่ท่อช่วยหายใจสำเร็จโดยวิธี ML น้อยกว่า GVL อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจมาก่อน แต่ในกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์พบว่าใช้เวลาในการใส่ท่อช่วยหายใจไม่แตกต่างกัน อัตราความสำเร็จในการใส่ท่อช่วยหายใจของอุปกรณ์ทั้งสองชนิดไม่มีความแตกต่างกัน ในขณะที่มุมการมองเห็นกล่องเสียงของการใส่ท่อช่วยหายใจโดยวิธี GVL ดีกว่าวิธี ML อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์ในการใส่ท่อช่วยหายใจ สรุป: GVL มีมุมการมองเห็นกล่องเสียงดีกว่า ML แต่ใช้เวลาในการใส่ท่อช่วยหายใจเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 6 วินาที GVL มีข้อดีกว่า ML ในการใส่ท่อช่วยหายใจในกรณีที่คาดว่าจะใส่ท่อช่วยหายใจลำบาก โดยเฉพาะในกลุ่มที่ไม่มีประสบการณ์การใส่ท่อช่วยหายใจมาก่อนแต่จะใช้เวลาในการใส่ท่อช่วยหายใจนานขึ้น
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
ไชยพร ยุกเซ็น
ธิดาทิต ประชานุกูล
วัชรพงศ์ ชินศุภลักษณ์
ธาวินี ไตรณรงค์สกุล
Chaiyaporn Yuksen
Thidathit Prachanukool
Watcharapong Chinsupaluk
Thavinee Trainarongsakul
format Original Article
author ไชยพร ยุกเซ็น
ธิดาทิต ประชานุกูล
วัชรพงศ์ ชินศุภลักษณ์
ธาวินี ไตรณรงค์สกุล
Chaiyaporn Yuksen
Thidathit Prachanukool
Watcharapong Chinsupaluk
Thavinee Trainarongsakul
author_sort ไชยพร ยุกเซ็น
title การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
title_short การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
title_full การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
title_fullStr การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
title_full_unstemmed การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ Videolaryngoscope และ Macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
title_sort การศึกษาเปรียบเทียบการใส่ท่อช่วยหายใจโดยใช้ videolaryngoscope และ macintosh laryngoscope ในหุ่นทดลองที่มีการจำกัดการเคลื่อนไหวบริเวณคอ
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79669
_version_ 1763494627243982848