ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด
บทนำ: อาการปวด เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ และทำให้เกิดความทรมานในผู้ป่วยอย่างมาก พบว่าอาการปวด มีความสัมพันธ์กับโรคทางจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้า และโรควิตกกังวล รวมทั้งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยด้วย วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยท...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79717 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79717 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.797172023-03-31T08:52:00Z ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด Association between Depression, Anxiety and Quality of Life in Patients with Pain Symptoms ธนิตา หิรัญเทพ กรวีร์ พสุธารชาติ ภัทรพร วิสาจันทร์ Thanita Hiranyatheb Koravee Pasutharnchat Pattaraporn Wisajan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ อาการปวด โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล คุณภาพชีวิต Pain scale Depressive disorder Anxiety disorder Quality of life บทนำ: อาการปวด เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ และทำให้เกิดความทรมานในผู้ป่วยอย่างมาก พบว่าอาการปวด มีความสัมพันธ์กับโรคทางจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้า และโรควิตกกังวล รวมทั้งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยด้วย วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด รวมทั้งศึกษาความชุกของโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล ในผู้ป่วยที่มีอาการ วิธีการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยอาการปวด ที่หน่วยระงับปวด ภาควิชาวิสัญญีวิทยา และแผนกผู้ป่วยนอก ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ช่วงปี พ.ศ. 2553-2555 ทำการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัย แบบสอบถามประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย แบบประเมินเกี่ยวกับระดับความปวด แบบสอบถาม Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับภาษาไทย และแบบสำรวจสุขภาพทั่วไป (SF-36) ผลการศึกษา: พบว่าระดับความปวด มีความสัมพันกับอาการซึมเศร้า และคะแนนอาการวิตกกังวล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.005 และ P = 0.001 ตามลำดับ) โดยพบผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า ร้อยละ 12.8 และโรควิตกกังวล ร้อยละ 20 นอกจากนี้ คะแนนอาการซึมเศร้าและคะแนนอาการวิตกกังวล ยังมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.000) และมีผลซึ่งกันและกัน แต่ไม่มีอิทธิพลต่อคะแนนระดับความปวด สำหรับคุณภาพชีวิต พบว่าระดับความปวดสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตที่แย่ลงในหลายด้าน สรุป: อาการปวด มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตที่แย่ลง ดังนั้น แพทย์ผู้ดูแลจึงควรตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว เพื่อประโยชน์สูงสุดในการดูแลผู้ป่วยต่อไป Background: Pain is a common problem in medical practice and causes suffering in many patients. It is associated with many psychiatric disorders like depression and anxiety disorders. Moreover, it is a major factor causing decreased quality of life. Objective: To study the association between depressive disorder, anxiety disorder, and quality of life in pain patients as well as the prevalence of depressive disorder and anxiety disorder in pain patients. Research design and method: Data were obtained from 42 pain patients at pain relief unit and outpatients psychiatric unit of Ramathibodi Hospital in 2010-2012. The patients were interviewed by researchers and research assistants. Questionnaire include demographic characteristics, Numeric Rating Scale (NRS), Thai Hospital Anxiety and Depression Scale, and SF-36 (Thai version). Results: Pain scale was found to be associated with depression scale and anxiety scale (P = 0.005 and P = 0.001, respectively). Prevalence of depressive disorder and anxiety disorder was 12.8 and 20 percent, respectively. Moreover, depression scale and anxiety scale were associated (P = 0.000). Depression scale and anxiety scale had reciprocal effects, but they did not affect pain scale. Also, pain scale was asscociated with decresed quality of life in many dimensions. Conclusion: Pain scale was found to be associated with depression, anxiety and decreased quality of life. It emphasized the importance of psychological assessment and treatment of pain patients. 2022-09-29T02:05:42Z 2022-09-29T02:05:42Z 2565-09-29 2556 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 36, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มี.ค. 2556), 13-22 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79717 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
อาการปวด โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล คุณภาพชีวิต Pain scale Depressive disorder Anxiety disorder Quality of life |
spellingShingle |
อาการปวด โรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล คุณภาพชีวิต Pain scale Depressive disorder Anxiety disorder Quality of life ธนิตา หิรัญเทพ กรวีร์ พสุธารชาติ ภัทรพร วิสาจันทร์ Thanita Hiranyatheb Koravee Pasutharnchat Pattaraporn Wisajan ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด |
description |
บทนำ: อาการปวด เป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ และทำให้เกิดความทรมานในผู้ป่วยอย่างมาก พบว่าอาการปวด มีความสัมพันธ์กับโรคทางจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้า และโรควิตกกังวล รวมทั้งส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยด้วย
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด รวมทั้งศึกษาความชุกของโรคซึมเศร้า โรควิตกกังวล ในผู้ป่วยที่มีอาการ
วิธีการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยอาการปวด ที่หน่วยระงับปวด ภาควิชาวิสัญญีวิทยา และแผนกผู้ป่วยนอก ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ช่วงปี พ.ศ. 2553-2555 ทำการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัย แบบสอบถามประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับลักษณะทั่วไปของผู้ป่วย แบบประเมินเกี่ยวกับระดับความปวด แบบสอบถาม Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับภาษาไทย และแบบสำรวจสุขภาพทั่วไป (SF-36)
ผลการศึกษา: พบว่าระดับความปวด มีความสัมพันกับอาการซึมเศร้า และคะแนนอาการวิตกกังวล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.005 และ P = 0.001 ตามลำดับ) โดยพบผู้ที่เป็นโรคซึมเศร้า ร้อยละ 12.8 และโรควิตกกังวล ร้อยละ 20 นอกจากนี้ คะแนนอาการซึมเศร้าและคะแนนอาการวิตกกังวล ยังมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P = 0.000) และมีผลซึ่งกันและกัน แต่ไม่มีอิทธิพลต่อคะแนนระดับความปวด สำหรับคุณภาพชีวิต พบว่าระดับความปวดสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตที่แย่ลงในหลายด้าน
สรุป: อาการปวด มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตที่แย่ลง ดังนั้น แพทย์ผู้ดูแลจึงควรตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว เพื่อประโยชน์สูงสุดในการดูแลผู้ป่วยต่อไป |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ธนิตา หิรัญเทพ กรวีร์ พสุธารชาติ ภัทรพร วิสาจันทร์ Thanita Hiranyatheb Koravee Pasutharnchat Pattaraporn Wisajan |
format |
Original Article |
author |
ธนิตา หิรัญเทพ กรวีร์ พสุธารชาติ ภัทรพร วิสาจันทร์ Thanita Hiranyatheb Koravee Pasutharnchat Pattaraporn Wisajan |
author_sort |
ธนิตา หิรัญเทพ |
title |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด |
title_short |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด |
title_full |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด |
title_fullStr |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด |
title_full_unstemmed |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด |
title_sort |
ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการปวด |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79717 |
_version_ |
1763489427697434624 |