ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย

เพื่อสำรวจข้อมูลด้านความคิดเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมายเกี่ยวกับการสอนการเรียนและความรู้ด้านวิชาชีพ โดยการตอบแบบสอบถามผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รวบรวมข้อมูลที่ได้และนำมาจัดหมวดหมู่ด้วยวิธีจำแนก แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าร้อยละ ความแปรปรวนระ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กัลยาณี มกราภิรมย์, สุมาลี ดีจงกิจ, รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล, Kalyanee Makarabhirom, Sumalee Dechongkit, Rattinan Tiravanitchakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79733
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79733
record_format dspace
spelling th-mahidol.797332023-03-31T03:51:23Z ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย Ideas and Needs of Selected Bachelor Degree Students in Communication Sciences and Disorders กัลยาณี มกราภิรมย์ สุมาลี ดีจงกิจ รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล Kalyanee Makarabhirom Sumalee Dechongkit Rattinan Tiravanitchakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย ความผิดปกติของการสื่อความหมาย การสอนการเรียน ความรู้ด้านอาชีพ Communication Disoders Teaching Learning Professional knowledge เพื่อสำรวจข้อมูลด้านความคิดเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมายเกี่ยวกับการสอนการเรียนและความรู้ด้านวิชาชีพ โดยการตอบแบบสอบถามผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รวบรวมข้อมูลที่ได้และนำมาจัดหมวดหมู่ด้วยวิธีจำแนก แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าร้อยละ ความแปรปรวนระหว่างชั้นปีโดยใช้สถิติ ANOVA และระหว่างกลุ่มด้วยสถิติ Scheffe กลุ่มตัวอย่างจำนวน 59 คน มีอายุเฉลี่ย 26.6 ปี เป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาในชั้นปีที่ 3 ปีที่ 4 และหลักสูตรต่อเนื่อง นักศึกษาจำนวน 33 คน และ 26 คน เลือกเรียนด้านแก้ไขการได้ยินและด้านแก้ไขการพูดตามลำดับร้อยละ 70 มีความรู้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับพอใช้ ร้อยละ 76 ต้องการปฏิบัติงานภาครัฐในตำแหน่งข้าราชการเมื่อสำเร็จการศึกษา ผลความต้องการในระดับมากที่สุด คือ ด้านภาคปฏิบัติและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในการฝึกกับด้านความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพ ส่วนความต้องการในระดับมาก ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง ด้านการเรียนการสอนที่ต้องการเรียนรู้จากการดูงานนอกสถานที่รวมถึงจากห้องปฏิบัติการ และด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากตำราภาษาไทย สำหรับผลความคิดเห็น พบว่านักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการสอนการเรียนและวิชาชีพอยู่ในระดับมาก เมื่อศึกษาความคิดเห็นความต้องการทุกด้านของนักศึกษาตามกลุ่มอายุ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้สามารถนำมากำหนดทิศทางในการประกันคุณภาพการศึกษาและวางแผนการผลิตบุคลากรให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ To survey information on the ideas and needs of selected Bachelor degree students in the Communication Science and Disorders program on teaching and professional knowledge by using an internet questionnaire. Collecting, grouping and classification data were analyzed in terms of descriptive, one-way ANOVA and Scheffe’s test statistics. Fifty nine subjects aged 26.6 years were studying in the third, fourth year and 2 year degree (ongoing). Thirty three and 26 subjects majored in Audiology and Speech pathology, respectively. About 70% of the participants were fairly proficient in English. About 76% of the subjects would like to work for the Thai government after graduation. Results showed the students’ needs at the highest level were the practicum with the testing instruments and the professional knowledge. At the higher level needs were participation in learning evaluation, teaching and learning outside of the class, and support in learning with Thai text books. The students’ expectations were judged to be at a higher level because of their positive attitude toward teaching, learning, and profession standards. Their ideas and needs were statistical significance for different age groups. These results could be used to determine the direction of quality assurance in education and to be an effective guide line for personnel production according to the strategic plan for manpower of the National Health Workforce. 2022-09-30T02:08:23Z 2022-09-30T02:08:23Z 2565-09-30 2556 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 36, ฉบับที่ 3 (ก.ค.-ส.ค. 2556), 178-190 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79733 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความผิดปกติของการสื่อความหมาย
การสอนการเรียน
ความรู้ด้านอาชีพ
Communication Disoders
Teaching Learning
Professional knowledge
spellingShingle ความผิดปกติของการสื่อความหมาย
การสอนการเรียน
ความรู้ด้านอาชีพ
Communication Disoders
Teaching Learning
Professional knowledge
กัลยาณี มกราภิรมย์
สุมาลี ดีจงกิจ
รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล
Kalyanee Makarabhirom
Sumalee Dechongkit
Rattinan Tiravanitchakul
ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
description เพื่อสำรวจข้อมูลด้านความคิดเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาความผิดปกติของการสื่อความหมายเกี่ยวกับการสอนการเรียนและความรู้ด้านวิชาชีพ โดยการตอบแบบสอบถามผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต รวบรวมข้อมูลที่ได้และนำมาจัดหมวดหมู่ด้วยวิธีจำแนก แล้วนำมาวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าร้อยละ ความแปรปรวนระหว่างชั้นปีโดยใช้สถิติ ANOVA และระหว่างกลุ่มด้วยสถิติ Scheffe กลุ่มตัวอย่างจำนวน 59 คน มีอายุเฉลี่ย 26.6 ปี เป็นนักศึกษาที่กำลังศึกษาในชั้นปีที่ 3 ปีที่ 4 และหลักสูตรต่อเนื่อง นักศึกษาจำนวน 33 คน และ 26 คน เลือกเรียนด้านแก้ไขการได้ยินและด้านแก้ไขการพูดตามลำดับร้อยละ 70 มีความรู้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับพอใช้ ร้อยละ 76 ต้องการปฏิบัติงานภาครัฐในตำแหน่งข้าราชการเมื่อสำเร็จการศึกษา ผลความต้องการในระดับมากที่สุด คือ ด้านภาคปฏิบัติและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ในการฝึกกับด้านความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพ ส่วนความต้องการในระดับมาก ได้แก่ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง ด้านการเรียนการสอนที่ต้องการเรียนรู้จากการดูงานนอกสถานที่รวมถึงจากห้องปฏิบัติการ และด้านสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้จากตำราภาษาไทย สำหรับผลความคิดเห็น พบว่านักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่อการสอนการเรียนและวิชาชีพอยู่ในระดับมาก เมื่อศึกษาความคิดเห็นความต้องการทุกด้านของนักศึกษาตามกลุ่มอายุ พบว่ามีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยนี้สามารถนำมากำหนดทิศทางในการประกันคุณภาพการศึกษาและวางแผนการผลิตบุคลากรให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษกำลังคนด้านสุขภาพแห่งชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาวิทยาศาสตร์สื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย
กัลยาณี มกราภิรมย์
สุมาลี ดีจงกิจ
รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล
Kalyanee Makarabhirom
Sumalee Dechongkit
Rattinan Tiravanitchakul
format Original Article
author กัลยาณี มกราภิรมย์
สุมาลี ดีจงกิจ
รัตตินันท์ ฏิระวณิชย์กุล
Kalyanee Makarabhirom
Sumalee Dechongkit
Rattinan Tiravanitchakul
author_sort กัลยาณี มกราภิรมย์
title ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
title_short ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
title_full ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
title_fullStr ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
title_full_unstemmed ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
title_sort ความเห็น ความต้องการของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79733
_version_ 1763492006801178624