ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ
วัตถุประสงค์: ศึกษาผลของการฝึกโดยใช้เครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ (AT = Bi-Manu track) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะพ้นเฉียบพลันที่มีภาวะอ่อนแรงครึ่งซีก รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงทดลอง สถานที่ทำการวิจัย: สถาบันประสาทวิทยา กลุ่มประชากร: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะอ่อนแรงครึ่งซีกโดยมีค...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Original Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79759 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79759 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.797592023-03-30T21:47:00Z ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ Robot-Assisted Arm Trainer in Subacute Stroke Patients; Pilot-Study ทิพยรัตน์ ศฤงคารินกุล พรทิพย์พา ธิมายอม Tipyarat Saringcarinkul Pornthippa Thimayom มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู สถาบันประสาทวิทยา. กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะอ่อนแรงครึ่งซีก เครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ ความสามารถในการเคลื่อนไหว ความสามารถในการทำกิจกรรม Stroke Subacute Hemiparesis Robotics Upper limbs Motor function Activity function วัตถุประสงค์: ศึกษาผลของการฝึกโดยใช้เครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ (AT = Bi-Manu track) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะพ้นเฉียบพลันที่มีภาวะอ่อนแรงครึ่งซีก รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงทดลอง สถานที่ทำการวิจัย: สถาบันประสาทวิทยา กลุ่มประชากร: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะอ่อนแรงครึ่งซีกโดยมีคะแนนความสามารถในการเคลื่อนไหว [FM UE] gif.latex?\leq 27 จำนวน 20 ราย วิธีการศึกษา: เปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยจำนวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุมที่ได้รับโปรแกรมทางกิจกรรมบำบัดทั่วไป [OT] อย่างน้อยวันละ 30 นาที 3-5 วันต่อสัปดาห์เป็นเวลา 4 สัปดาห์และกลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกเพิ่มด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมืออีกวันละ 30 นาที [OT+AT] ใน 3 ด้านคือ คะแนนความสามารถในการเคลื่อนไหว [FM UE 0-66] คะแนนความสามารถในการทำกิจกรรม [MFT 0-32] และการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ [MAS 0-4] ผลการศึกษา: ผลคะแนนความสามารถในการเคลื่อนไหวและความสามารถในการทำกิจกรรมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังได้รับโปรแกรมการฝึกทั้งในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง แต่เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุป: การฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือไม่ให้ผลแตกต่างกับการฝึกด้วยโปรแกรมการฝึกทางกิจกรรมทั่วไป อย่างไรก็ดีควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคต Objective: To study whether a robot-assisted arm trainer (AT = Bi-Manu track), utilizing repetitive cycles of passive and active bilateral forearm and wrist movements, will improve motor and functional scores of the upper limb in moderate to severely affected subacute stroke patients. Designs: Randomized-controlled trial study Settings: Prasat Neurological Institute Subjects: Twenty subacute [< 3 month after stroke] hemiplegic stroke patients with severe upper limb paresis; Fugl-Meyer Motor Score of upper extremities [FM UE gif.latex?\leq 27] Methods: Twenty patients were randomly assigned to either the occupational therapy program [OT] or OT with AT. All patients practiced for 30 min/day, 3-5 days per week, for at least 4 weeks. In addition, AT patients exercised 30 minutes per day with the robot. The primary measurement of progress was the motor score [FM UE 0-66], and the secondary measurements were functional scores [the Manual Function Test, MFT 0-32] and muscle tone [Modifies Ashworth Score, MAS 0-4] Results: After intervention, FM UE and MFT scores improved over 4 weeks in both OT and OT+AT group, but muscle tone remained unchanged. However, no statistically significant difference was observed on the FM UE, MAS and MFT between both groups. Discussion and Conclusion: The results from this study indicate that AT provides on additional benefits to conventional occupational therapy. However, alternate studies measuring different variables should be conducted to further assess the impact of AT. 2022-09-30T06:51:44Z 2022-09-30T06:51:44Z 2565-09-30 2555 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 35, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2555), 79-85 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79759 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู สถาบันประสาทวิทยา application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะอ่อนแรงครึ่งซีก เครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ ความสามารถในการเคลื่อนไหว ความสามารถในการทำกิจกรรม Stroke Subacute Hemiparesis Robotics Upper limbs Motor function Activity function |
spellingShingle |
โรคหลอดเลือดสมอง ภาวะอ่อนแรงครึ่งซีก เครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ ความสามารถในการเคลื่อนไหว ความสามารถในการทำกิจกรรม Stroke Subacute Hemiparesis Robotics Upper limbs Motor function Activity function ทิพยรัตน์ ศฤงคารินกุล พรทิพย์พา ธิมายอม Tipyarat Saringcarinkul Pornthippa Thimayom ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ |
description |
วัตถุประสงค์: ศึกษาผลของการฝึกโดยใช้เครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ (AT = Bi-Manu track) ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะพ้นเฉียบพลันที่มีภาวะอ่อนแรงครึ่งซีก
รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงทดลอง
สถานที่ทำการวิจัย: สถาบันประสาทวิทยา
กลุ่มประชากร: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีภาวะอ่อนแรงครึ่งซีกโดยมีคะแนนความสามารถในการเคลื่อนไหว [FM UE] gif.latex?\leq 27 จำนวน 20 ราย
วิธีการศึกษา: เปรียบเทียบกลุ่มผู้ป่วยจำนวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มควบคุมที่ได้รับโปรแกรมทางกิจกรรมบำบัดทั่วไป [OT] อย่างน้อยวันละ 30 นาที 3-5 วันต่อสัปดาห์เป็นเวลา 4 สัปดาห์และกลุ่มทดลองที่ได้รับการฝึกเพิ่มด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมืออีกวันละ 30 นาที [OT+AT] ใน 3 ด้านคือ คะแนนความสามารถในการเคลื่อนไหว [FM UE 0-66] คะแนนความสามารถในการทำกิจกรรม [MFT 0-32] และการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ [MAS 0-4]
ผลการศึกษา: ผลคะแนนความสามารถในการเคลื่อนไหวและความสามารถในการทำกิจกรรมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติหลังได้รับโปรแกรมการฝึกทั้งในกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง แต่เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: การฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือไม่ให้ผลแตกต่างกับการฝึกด้วยโปรแกรมการฝึกทางกิจกรรมทั่วไป อย่างไรก็ดีควรมีการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคต |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ทิพยรัตน์ ศฤงคารินกุล พรทิพย์พา ธิมายอม Tipyarat Saringcarinkul Pornthippa Thimayom |
format |
Original Article |
author |
ทิพยรัตน์ ศฤงคารินกุล พรทิพย์พา ธิมายอม Tipyarat Saringcarinkul Pornthippa Thimayom |
author_sort |
ทิพยรัตน์ ศฤงคารินกุล |
title |
ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ |
title_short |
ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ |
title_full |
ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ |
title_fullStr |
ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ |
title_full_unstemmed |
ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ |
title_sort |
ผลของการฝึกผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองด้วยเครื่องฝึกการเคลื่อนไหวของแขนและมือ |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79759 |
_version_ |
1763497116857008128 |