แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ จำนวน 30 คน ได้รับการอบรมความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง เรื่องการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พีรญา ไสไหม, ไสว นรสาร, สนธญา พันธ์กิงทิพย์, กรองได อุณหสูต, Phiraya Saimai, Savai Norasan, Sontaya Punkingtrip, Krongdai Unhasuta
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79764
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79764
record_format dspace
spelling th-mahidol.797642023-03-31T01:20:54Z แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี The First 10 Minutes Trauma Protocol for Nurses at Resuscitation Unit: Ramathibodi Hospital พีรญา ไสไหม ไสว นรสาร สนธญา พันธ์กิงทิพย์ กรองได อุณหสูต Phiraya Saimai Savai Norasan Sontaya Punkingtrip Krongdai Unhasuta มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ แนวทางปฏิบัติสำหรับพยาบาล การดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก หน่วยกู้ชีพ Protocol for nurse The first 10 minutes trauma care Resuscitation unit วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ จำนวน 30 คน ได้รับการอบรมความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง เรื่องการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก และแนวทางในการจัดการทางอุบัติเหตุสำหรับพยาบาล 13 flowcharts เครื่องที่ใช้พัฒนาโดยกรองได อุณหสูต และเครือข่ายพยาบาลอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย โดยใช้แนวคิดการปฏิบัติในการช่วยชีวิตผู้ได้รับบาดเจ็บขั้นสูง ประกอบด้วยประเด็นของการค้นหาปัญหาจากการปฏิบัติงาน และการค้นหาปัญหาจากแหล่งความรู้ (การประเมินอาการ การจัดการและการเฝ้าระวังติดตามอย่างต่อเนื่อง) ประเมินผลการวิจัยหลังการใช้แนวปฏิบัติ นาน 1 เดือน ผลการศึกษา: พยาบาลมีความพึงพอใจมากที่มีแนวทางในการปฏิบัติ ช่วยให้ทำงานเป็นระบบและลดความผิดพลาดและช่วยชีวิตผู้ป่วยได้รวดเร็ว การบันทึกทางการพยาบาลส่วนใหญ่บันทึกการจำแนกความรุนแรงและการปฏิบัติตามแผนการรักษา มีการบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแนวปฏิบัติสำหรับพยาบาล เช่น การดูแลให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายและความสุขสบายของผู้ป่วย การให้ข้อมูลแก่ญาติ สรุปผล: พยาบาลส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมากที่มีแนวทางปฏิบัติ การบันทึกข้อมูลทางการพยาบาลในเวชระเบียนไม่ครบถ้วนตามแนวปฏิบัติ ข้อเสนอแนะควรกำหนดการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้บาดเจ็บ 10 นาทีแรกอยู่ในระบบการดูแลผู้บาดเจ็บมนหน่วยงาน และจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้แนวปฏิบัติ Objective: To evaluate the effect of implementation the first 10 minutes trauma care protocol for nurses in resuscitation unit, Ramathibodi Hospital, Thailand. Methods: This descriptive research included of 30 from nurses who work at resuscitation unit. All participants had been attended two hours lector done by researcher. Lecture contents consist of the first 10 minutes trauma care protocol and 13 flowcharts for trauma care. The protocol, developed by Krongdai Unhasuta and Thai Trauma nurses network, consist of practice triggers, follow the principles of Advanced Trauma Life Support (ATLS) and knowledge triggers, categorize of resuscitation management (assessment, management and monitoring). An evaluation of protocol was done one month later by reviewing medical record, nursing documents and satisfaction questionnaire. Results: The result found that all participants satisfied this protocol regarding helpful to manage trauma patients systemically, eliminate error and reduce time in saving life. The other findings found that most nursing document focused on patients’ severity, medical orders and treatments, but less concern about patient position, warm keeping and giving family information. Conclusion: The effect of implementation the first 10 minutes trauma care protocol for nurses in resuscitation unit was found that nurses satisfied a trauma care protocol. Resuscitation management was not complete especially documentation. These finding suggest that specific protocol with short course training and regular evaluation will improve quality of nursing care. 2022-09-30T07:51:28Z 2022-09-30T07:51:28Z 2565-09-30 2555 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 35, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2555), 122-135 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79764 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิด โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic แนวทางปฏิบัติสำหรับพยาบาล
การดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก
หน่วยกู้ชีพ
Protocol for nurse
The first 10 minutes trauma care
Resuscitation unit
spellingShingle แนวทางปฏิบัติสำหรับพยาบาล
การดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก
หน่วยกู้ชีพ
Protocol for nurse
The first 10 minutes trauma care
Resuscitation unit
พีรญา ไสไหม
ไสว นรสาร
สนธญา พันธ์กิงทิพย์
กรองได อุณหสูต
Phiraya Saimai
Savai Norasan
Sontaya Punkingtrip
Krongdai Unhasuta
แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี วิธีการศึกษา: เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในหน่วยกู้ชีพ จำนวน 30 คน ได้รับการอบรมความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง เรื่องการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก และแนวทางในการจัดการทางอุบัติเหตุสำหรับพยาบาล 13 flowcharts เครื่องที่ใช้พัฒนาโดยกรองได อุณหสูต และเครือข่ายพยาบาลอุบัติเหตุแห่งประเทศไทย โดยใช้แนวคิดการปฏิบัติในการช่วยชีวิตผู้ได้รับบาดเจ็บขั้นสูง ประกอบด้วยประเด็นของการค้นหาปัญหาจากการปฏิบัติงาน และการค้นหาปัญหาจากแหล่งความรู้ (การประเมินอาการ การจัดการและการเฝ้าระวังติดตามอย่างต่อเนื่อง) ประเมินผลการวิจัยหลังการใช้แนวปฏิบัติ นาน 1 เดือน ผลการศึกษา: พยาบาลมีความพึงพอใจมากที่มีแนวทางในการปฏิบัติ ช่วยให้ทำงานเป็นระบบและลดความผิดพลาดและช่วยชีวิตผู้ป่วยได้รวดเร็ว การบันทึกทางการพยาบาลส่วนใหญ่บันทึกการจำแนกความรุนแรงและการปฏิบัติตามแผนการรักษา มีการบันทึกข้อมูลไม่ครบถ้วนตามแนวปฏิบัติสำหรับพยาบาล เช่น การดูแลให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายและความสุขสบายของผู้ป่วย การให้ข้อมูลแก่ญาติ สรุปผล: พยาบาลส่วนใหญ่มีความพึงพอใจมากที่มีแนวทางปฏิบัติ การบันทึกข้อมูลทางการพยาบาลในเวชระเบียนไม่ครบถ้วนตามแนวปฏิบัติ ข้อเสนอแนะควรกำหนดการใช้แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลผู้บาดเจ็บ 10 นาทีแรกอยู่ในระบบการดูแลผู้บาดเจ็บมนหน่วยงาน และจัดอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้แนวปฏิบัติ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาพยาบาลศาสตร์
พีรญา ไสไหม
ไสว นรสาร
สนธญา พันธ์กิงทิพย์
กรองได อุณหสูต
Phiraya Saimai
Savai Norasan
Sontaya Punkingtrip
Krongdai Unhasuta
format Original Article
author พีรญา ไสไหม
ไสว นรสาร
สนธญา พันธ์กิงทิพย์
กรองได อุณหสูต
Phiraya Saimai
Savai Norasan
Sontaya Punkingtrip
Krongdai Unhasuta
author_sort พีรญา ไสไหม
title แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_short แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_full แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_fullStr แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_full_unstemmed แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี
title_sort แนวปฏิบัติสำหรับพยาบาลในการดูแลการบาดเจ็บ 10 นาทีแรก ณ หน่วยกู้ชีพ โรงพยาบาลรามาธิบดี
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79764
_version_ 1763497159539294208