การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า

จุลินทรีย์มีบทบาทสำคัญในการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสทางอุตสาหกรรมโดยเฉพาะสายพันธุ์ Bacillus จากการศึกษาเบื้องต้นพบว่า alkalotolerant Bacillus sp. B12 สามารถผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสได้สูงสุดที่ 0.44 ยูนิตต่อมิลลิลิตร งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalot...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิมล จานงค์, Pimon Jamnong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79826
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79826
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic Alkalotolerant Bacillus sp.
อัลคาไลน์โปรตีเอส
สารซักล้าง
การทำให้โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วน
spellingShingle Alkalotolerant Bacillus sp.
อัลคาไลน์โปรตีเอส
สารซักล้าง
การทำให้โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วน
พิมล จานงค์
Pimon Jamnong
การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า
description จุลินทรีย์มีบทบาทสำคัญในการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสทางอุตสาหกรรมโดยเฉพาะสายพันธุ์ Bacillus จากการศึกษาเบื้องต้นพบว่า alkalotolerant Bacillus sp. B12 สามารถผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสได้สูงสุดที่ 0.44 ยูนิตต่อมิลลิลิตร งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 ให้ได้เพิ่มสูงขึ้น และ (2) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการทำให้อัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วนและความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้กับสารซักล้างทางการค้า โดยทำการศึกษาอาหารและสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตและการทำงานของอัลคาไลน์โปรตีเอส ประกอบด้วยการศึกษาแหล่งคาร์บอนและไนโตรเจน และปริมาณโปตัสเซียมไนเตรท ความเหมาะสมของกรด-ด่าง อุณหภูมิ ความเร็วในการเขย่า ประเมินผลผลิตจากอัลคาไลน์โปรตีเอสรวม (CP) ขณะที่การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการทำให้อัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วนและความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้กับสารซักล้างทางการค้า ประกอบด้วยการศึกษาปริมาณเกลือแอมโมเนียมซัลเฟตอิ่มตัวที่เหมาะสมต่อการตกตะกอน CP ให้บริสุทธิ์บางส่วน ความเหมาะสมของกรด-ด่างและอุณหภูมิต่อการทำงานและเสถียรภาพของอัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วน (PPP) ประเมินผลผลิตจาก PPP และความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้กับสารซักล้างทางการค้า ทาการตรวจวัดกิจกรรมของโปรตีเอสเพื่อประเมินผลของการซักล้างต่อเสถียรภาพของ CP และ PPP จากผลการศึกษาพบว่าอาหารและสภาวะที่เหมาะสมมากที่สุดในการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสให้ได้เพิ่มสูงขึ้น เมื่อเพาะเลี้ยงในส่วนผสมกากถั่วเหลืองร้อยละ 0.5 โปตัสเซียมไนเตรทร้อยละ 0.5 พีเอช 9.0 เขย่าด้วยความเร็ว 200 รอบต่อนาที บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง โดยเชื้อผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสได้สูงสุดที่ 0.63 ยูนิตต่อมิลลิลิตร ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาก่อนหน้านี้จะพบว่าเชื้อผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสได้เพิ่มสูงขึ้นจากเดิม 1.4 เท่า สภาวะที่เหมาะสมมากที่สุดในการทำให้อัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วน โดยการตกตะกอน CP ด้วยเกลือแอมโมเนียมซัลเฟตอิ่มตัวที่ร้อยละ 40-60 จะมีความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น 6.9 เท่า พีเอชที่เหมาะสมต่อการทางานของ PPP อยู่ในช่วงพีเอช 8.0 ถึง 11.0 และมีเสถียรภาพต่อพีเอชในช่วง 8.0 ถึง 10.0 นาน 1 ชั่วโมง เมื่อใช้เคซีนเป็นสับสเตรท อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทางานของ PPP อยู่ในช่วง 40 ถึง 70 องศาเซลเซียส และมีเสถียรภาพสูงในช่วงอุณหภูมิ 30 ถึง 50 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมง ขณะที่ความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้ของโปรตีเอสกับสารซักล้างทางการค้า พบว่า PPP ทำงานได้ดีในสารซักล้างทางการค้าชนิด Baby best, Baby mild, และ Essence ตามลาดับ แต่คงทนต่อสารซักล้างชนิด St’Luke’s และ Fineline ได้น้อย ขณะที่ CP ทำงานได้ดีในสารซักล้างทางการค้าทั้ง 5 ชนิด คือ Baby best, Baby mild, Essence, St’Luke’s และ Fineline ตามลำดับ และมีเสถียรภาพดีต่อสารซักล้างชนิด Baby best ความเข้มข้นร้อยละ 1.0 ถึง 5.0 Baby mild ร้อยละ 3.0 และ Essence ร้อยละ 1.0 ดังนั้นจึงมีแนวโน้มที่จะนา CP จาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 ไปใช้เป็นส่วนผสมในสูตรสารซักล้างได้
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ
พิมล จานงค์
Pimon Jamnong
format Article
author พิมล จานงค์
Pimon Jamnong
author_sort พิมล จานงค์
title การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า
title_short การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า
title_full การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า
title_fullStr การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า
title_full_unstemmed การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า
title_sort การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant bacillus sp. b12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79826
_version_ 1763490262285287424
spelling th-mahidol.798262023-03-31T05:29:36Z การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 และทำให้บริสุทธิ์บางส่วนเพื่อใช้เป็นส่วนผสมในสารซักล้างทางการค้า Study on the optimal production and partial purification of alkaline protease from alkalotolerant Bacillus sp. B12: Feasibility as a commercial detergent additive พิมล จานงค์ Pimon Jamnong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ Alkalotolerant Bacillus sp. อัลคาไลน์โปรตีเอส สารซักล้าง การทำให้โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วน จุลินทรีย์มีบทบาทสำคัญในการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสทางอุตสาหกรรมโดยเฉพาะสายพันธุ์ Bacillus จากการศึกษาเบื้องต้นพบว่า alkalotolerant Bacillus sp. B12 สามารถผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสได้สูงสุดที่ 0.44 ยูนิตต่อมิลลิลิตร งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสจาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 ให้ได้เพิ่มสูงขึ้น และ (2) ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการทำให้อัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วนและความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้กับสารซักล้างทางการค้า โดยทำการศึกษาอาหารและสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตและการทำงานของอัลคาไลน์โปรตีเอส ประกอบด้วยการศึกษาแหล่งคาร์บอนและไนโตรเจน และปริมาณโปตัสเซียมไนเตรท ความเหมาะสมของกรด-ด่าง อุณหภูมิ ความเร็วในการเขย่า ประเมินผลผลิตจากอัลคาไลน์โปรตีเอสรวม (CP) ขณะที่การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการทำให้อัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วนและความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้กับสารซักล้างทางการค้า ประกอบด้วยการศึกษาปริมาณเกลือแอมโมเนียมซัลเฟตอิ่มตัวที่เหมาะสมต่อการตกตะกอน CP ให้บริสุทธิ์บางส่วน ความเหมาะสมของกรด-ด่างและอุณหภูมิต่อการทำงานและเสถียรภาพของอัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วน (PPP) ประเมินผลผลิตจาก PPP และความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้กับสารซักล้างทางการค้า ทาการตรวจวัดกิจกรรมของโปรตีเอสเพื่อประเมินผลของการซักล้างต่อเสถียรภาพของ CP และ PPP จากผลการศึกษาพบว่าอาหารและสภาวะที่เหมาะสมมากที่สุดในการผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสให้ได้เพิ่มสูงขึ้น เมื่อเพาะเลี้ยงในส่วนผสมกากถั่วเหลืองร้อยละ 0.5 โปตัสเซียมไนเตรทร้อยละ 0.5 พีเอช 9.0 เขย่าด้วยความเร็ว 200 รอบต่อนาที บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส นาน 24 ชั่วโมง โดยเชื้อผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสได้สูงสุดที่ 0.63 ยูนิตต่อมิลลิลิตร ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับการศึกษาก่อนหน้านี้จะพบว่าเชื้อผลิตอัลคาไลน์โปรตีเอสได้เพิ่มสูงขึ้นจากเดิม 1.4 เท่า สภาวะที่เหมาะสมมากที่สุดในการทำให้อัลคาไลน์โปรตีเอสบริสุทธิ์บางส่วน โดยการตกตะกอน CP ด้วยเกลือแอมโมเนียมซัลเฟตอิ่มตัวที่ร้อยละ 40-60 จะมีความบริสุทธิ์เพิ่มขึ้น 6.9 เท่า พีเอชที่เหมาะสมต่อการทางานของ PPP อยู่ในช่วงพีเอช 8.0 ถึง 11.0 และมีเสถียรภาพต่อพีเอชในช่วง 8.0 ถึง 10.0 นาน 1 ชั่วโมง เมื่อใช้เคซีนเป็นสับสเตรท อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการทางานของ PPP อยู่ในช่วง 40 ถึง 70 องศาเซลเซียส และมีเสถียรภาพสูงในช่วงอุณหภูมิ 30 ถึง 50 องศาเซลเซียส นาน 1 ชั่วโมง ขณะที่ความสามารถในการอยู่ร่วมกันได้ของโปรตีเอสกับสารซักล้างทางการค้า พบว่า PPP ทำงานได้ดีในสารซักล้างทางการค้าชนิด Baby best, Baby mild, และ Essence ตามลาดับ แต่คงทนต่อสารซักล้างชนิด St’Luke’s และ Fineline ได้น้อย ขณะที่ CP ทำงานได้ดีในสารซักล้างทางการค้าทั้ง 5 ชนิด คือ Baby best, Baby mild, Essence, St’Luke’s และ Fineline ตามลำดับ และมีเสถียรภาพดีต่อสารซักล้างชนิด Baby best ความเข้มข้นร้อยละ 1.0 ถึง 5.0 Baby mild ร้อยละ 3.0 และ Essence ร้อยละ 1.0 ดังนั้นจึงมีแนวโน้มที่จะนา CP จาก alkalotolerant Bacillus sp. B12 ไปใช้เป็นส่วนผสมในสูตรสารซักล้างได้ Microorganisms, especially the genus of Bacillus show important roles on the production of commercial alkaline protease. Preliminary study revealed that alkalotolerant Bacillus sp. B12 can produce alkaline protease with the highest activity at 0.44 Unit/ml. The objects of this this study were (1) to investigate the optimal condition to produce alkaline protease by alkalotolerant Bacillus sp. B12 and (2) to study the effect of saturated ammonium sulfate concentration on partial purification of crude alkaline protease (CP), as well as study the compatibilities of CP and partially purified protease (PPP) with commercial detergents. Alkaline protease was produced by alkalotolerant Bacillus sp. B12 and the optimal parameters, including carbon and nitrogen sources, the amount of potassium nitrate, pH, temperature and shaking speed were determined. CP was partial purified by precipitation with various concentrations of saturated ammonium sulfate. The optimal pH and temperature of PPP were investigated. Moreover, the compatibilities of the alkaline protease (CP and PPP) and commercial detergents at 500C for 90 min were determined. The results showed that the most suitable medium for the alkaline protease production was a mixture of 0.5% soybean meal as carbon source and 0.5% KNO3 as nitrogen source with initial pH 9.0. The most suitable condition to produce the highest yield of the alkaline protease was an incubation at 370C for 24 hr with the agitation at 200 rpm. With that condition, alkalotolerant Bacillus sp. B12 produced the highest alkaline protease at 0.63 Unit/ml which was a 1.4-fold increase in protease activity. The most suitable concentration of saturated ammonium sulfate for partial purification of the CP was 40-60% with a 6.9-fold increase in protease purity. The optimal pH and temperature of PPP were pH 8.0 - 11.0 and 40 - 700C, respectively. The highest stability of PPP was at pH 8.0 and 10.0, 300C and 500C for 1 hr. For the compatibility of the alkaline proteases and commercial detergents, PPP was active in Baby best, Baby mild and Essence detergents but it was not stable in St’Luke’s and Fineline detergents. While CP was active in Baby best, Baby mild, Essence, St’Luke’s and Fineline and it was highly stable in 1.0 - 5.0% Baby best, 3.0% Baby mild and 1.0% Essence detergents. Therefore, the crude alkaline protease from alkalotolerant Bacillus sp. B12 could be a potential candidate as an additive in detergent formulations. 2022-10-08T18:39:40Z 2022-10-08T18:39:40Z 2565-10-09 2564 Research Article วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 8, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2564). 34-48 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79826 tha มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf