การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาความรุนแรงในครอบครั้วและการมีส่วนร่วมกคงหุมพนในแนวทางการแก้ไทญหาความรุนแรงในครดทครัว ฟระหากรที่ศึกหาคืก ผู้ที่พำนักคยู่ใน 3 ชุมพนทคงจังหวัดสระบุรี เลือกตัวย่างแต่ละชุมชนได้ชุมชนละ 200 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายได้ตัวอย่างทั้งสิ้น 60...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: รักยิ้ม ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา, รณชัย คงสกนธ์, นิศากร ตัณฑการ, สุนิสา จองวัฒนา, อุมาพร อุดมทรัพยากุล, Rakyim Patamasingh Na Ayudhya, Ronnachai Kongsakon, Nisakorn Tantakarn, Sunisa Chongwatana, Umaporn Udomsubpayakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. งานสังคมสงเคราะห์
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79875
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
Description
Summary:การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาความรุนแรงในครอบครั้วและการมีส่วนร่วมกคงหุมพนในแนวทางการแก้ไทญหาความรุนแรงในครดทครัว ฟระหากรที่ศึกหาคืก ผู้ที่พำนักคยู่ใน 3 ชุมพนทคงจังหวัดสระบุรี เลือกตัวย่างแต่ละชุมชนได้ชุมชนละ 200 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายได้ตัวอย่างทั้งสิ้น 600 คนรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 67 ของกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 41-50 ปี มากที่สุดคือร้อยละ 23.5 ร้อยละ 60.3 มีสถานภาพสมรส ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 44.2) มีอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 46.6 ของกลุ่มตัวอย่งรายได้ไม่เกินเดือนละ 5.000 บาทและอาศัยอยู่กันเป็นครอบครัวเดี่ยวร้อยละ 59.7 สาเหตุที่ทำให้เกิดความรุนแรงในครอบครัวมากที่สุดร้อยละ 85.3 คือ ความใจร้อน เจ้าอารมณ์ของคนใดคนหนึ่ง รองลงมาคืกความรู้จี้ ขึ้นร้อยละ 81.0 และความขัดแย้งเรื่องการเงินร้อยละ 774 ความรุนแรงที่พบเห็นในชุมชนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 52.7) คือทางด้านจิตใจ โดยเฉพาะการถูกคว่พบเห็นได้มากที่สุดร้อยละ 86.2 รองลงมา (ร้อยละ 44.2) คือความรุนแรงทางด้านกายได้แก่ การตบ ตี เตะ ต่อย ร้อยละ 72.8 ส่วนความรุนแรงทางเพศ (ร้อยละ 3.1) คือการบังคับขืนใจทางเพศมีร้อยละ 9.9 การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเห็นด้วยในระดับมากว่า องค์กรหมชนควรมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการป้องกันและแก้ไขปัญหา (ร้อยละ 56) มีการสร้างเครือข่ยเพื่อทำงานร่วมกัน (ร้อยละ 56.4) การจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องแก่องค์กรขุมขนและฝึกปฏิบัติจริงด้วย (ร้อยละ 56.7) การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสมานฉันที่ให้แก่คนในชุมชนและครอบครัว (ร้อยละ 60) และคณะกรรมการของชุมชนไม่ควรมีกรอบกำหนดระยะเวลาในการดำเนินงานบริหาร (ร้อยละ 60.3) และที่สำคัญจะต้องได้รับความร่วมมือจากองค์กร มูลนิธิและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ร้อยละ 61.7)