การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาความรุนแรงในครอบครั้วและการมีส่วนร่วมกคงหุมพนในแนวทางการแก้ไทญหาความรุนแรงในครดทครัว ฟระหากรที่ศึกหาคืก ผู้ที่พำนักคยู่ใน 3 ชุมพนทคงจังหวัดสระบุรี เลือกตัวย่างแต่ละชุมชนได้ชุมชนละ 200 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายได้ตัวอย่างทั้งสิ้น 60...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: รักยิ้ม ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา, รณชัย คงสกนธ์, นิศากร ตัณฑการ, สุนิสา จองวัฒนา, อุมาพร อุดมทรัพยากุล, Rakyim Patamasingh Na Ayudhya, Ronnachai Kongsakon, Nisakorn Tantakarn, Sunisa Chongwatana, Umaporn Udomsubpayakul
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. งานสังคมสงเคราะห์
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79875
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79875
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การมีส่วนร่วม
ชุมชน
ความรุนแรงในครอบครัว
Participation
Community
Domestic violence
spellingShingle การมีส่วนร่วม
ชุมชน
ความรุนแรงในครอบครัว
Participation
Community
Domestic violence
รักยิ้ม ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา
รณชัย คงสกนธ์
นิศากร ตัณฑการ
สุนิสา จองวัฒนา
อุมาพร อุดมทรัพยากุล
Rakyim Patamasingh Na Ayudhya
Ronnachai Kongsakon
Nisakorn Tantakarn
Sunisa Chongwatana
Umaporn Udomsubpayakul
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี
description การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาความรุนแรงในครอบครั้วและการมีส่วนร่วมกคงหุมพนในแนวทางการแก้ไทญหาความรุนแรงในครดทครัว ฟระหากรที่ศึกหาคืก ผู้ที่พำนักคยู่ใน 3 ชุมพนทคงจังหวัดสระบุรี เลือกตัวย่างแต่ละชุมชนได้ชุมชนละ 200 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายได้ตัวอย่างทั้งสิ้น 600 คนรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 67 ของกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 41-50 ปี มากที่สุดคือร้อยละ 23.5 ร้อยละ 60.3 มีสถานภาพสมรส ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 44.2) มีอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 46.6 ของกลุ่มตัวอย่งรายได้ไม่เกินเดือนละ 5.000 บาทและอาศัยอยู่กันเป็นครอบครัวเดี่ยวร้อยละ 59.7 สาเหตุที่ทำให้เกิดความรุนแรงในครอบครัวมากที่สุดร้อยละ 85.3 คือ ความใจร้อน เจ้าอารมณ์ของคนใดคนหนึ่ง รองลงมาคืกความรู้จี้ ขึ้นร้อยละ 81.0 และความขัดแย้งเรื่องการเงินร้อยละ 774 ความรุนแรงที่พบเห็นในชุมชนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 52.7) คือทางด้านจิตใจ โดยเฉพาะการถูกคว่พบเห็นได้มากที่สุดร้อยละ 86.2 รองลงมา (ร้อยละ 44.2) คือความรุนแรงทางด้านกายได้แก่ การตบ ตี เตะ ต่อย ร้อยละ 72.8 ส่วนความรุนแรงทางเพศ (ร้อยละ 3.1) คือการบังคับขืนใจทางเพศมีร้อยละ 9.9 การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเห็นด้วยในระดับมากว่า องค์กรหมชนควรมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการป้องกันและแก้ไขปัญหา (ร้อยละ 56) มีการสร้างเครือข่ยเพื่อทำงานร่วมกัน (ร้อยละ 56.4) การจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องแก่องค์กรขุมขนและฝึกปฏิบัติจริงด้วย (ร้อยละ 56.7) การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสมานฉันที่ให้แก่คนในชุมชนและครอบครัว (ร้อยละ 60) และคณะกรรมการของชุมชนไม่ควรมีกรอบกำหนดระยะเวลาในการดำเนินงานบริหาร (ร้อยละ 60.3) และที่สำคัญจะต้องได้รับความร่วมมือจากองค์กร มูลนิธิและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ร้อยละ 61.7)
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. งานสังคมสงเคราะห์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. งานสังคมสงเคราะห์
รักยิ้ม ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา
รณชัย คงสกนธ์
นิศากร ตัณฑการ
สุนิสา จองวัฒนา
อุมาพร อุดมทรัพยากุล
Rakyim Patamasingh Na Ayudhya
Ronnachai Kongsakon
Nisakorn Tantakarn
Sunisa Chongwatana
Umaporn Udomsubpayakul
format Original Article
author รักยิ้ม ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา
รณชัย คงสกนธ์
นิศากร ตัณฑการ
สุนิสา จองวัฒนา
อุมาพร อุดมทรัพยากุล
Rakyim Patamasingh Na Ayudhya
Ronnachai Kongsakon
Nisakorn Tantakarn
Sunisa Chongwatana
Umaporn Udomsubpayakul
author_sort รักยิ้ม ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา
title การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี
title_short การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี
title_full การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี
title_fullStr การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี
title_full_unstemmed การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี
title_sort การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79875
_version_ 1763492547761537024
spelling th-mahidol.798752023-03-30T23:41:33Z การมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดสระบุรี Community Participation to Solve Domestic Violence. Study: Cases Only of three Communities, Saraburi Province รักยิ้ม ปัทมสิงห์ ณ อยุธยา รณชัย คงสกนธ์ นิศากร ตัณฑการ สุนิสา จองวัฒนา อุมาพร อุดมทรัพยากุล Rakyim Patamasingh Na Ayudhya Ronnachai Kongsakon Nisakorn Tantakarn Sunisa Chongwatana Umaporn Udomsubpayakul มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. งานสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. สำนักงานวิจัย การมีส่วนร่วม ชุมชน ความรุนแรงในครอบครัว Participation Community Domestic violence การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาความรุนแรงในครอบครั้วและการมีส่วนร่วมกคงหุมพนในแนวทางการแก้ไทญหาความรุนแรงในครดทครัว ฟระหากรที่ศึกหาคืก ผู้ที่พำนักคยู่ใน 3 ชุมพนทคงจังหวัดสระบุรี เลือกตัวย่างแต่ละชุมชนได้ชุมชนละ 200 คน ด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่ายได้ตัวอย่างทั้งสิ้น 600 คนรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ระหว่างวันที่ 20 มกราคม ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2552 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 67 ของกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 41-50 ปี มากที่สุดคือร้อยละ 23.5 ร้อยละ 60.3 มีสถานภาพสมรส ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 44.2) มีอาชีพรับจ้าง ร้อยละ 46.6 ของกลุ่มตัวอย่งรายได้ไม่เกินเดือนละ 5.000 บาทและอาศัยอยู่กันเป็นครอบครัวเดี่ยวร้อยละ 59.7 สาเหตุที่ทำให้เกิดความรุนแรงในครอบครัวมากที่สุดร้อยละ 85.3 คือ ความใจร้อน เจ้าอารมณ์ของคนใดคนหนึ่ง รองลงมาคืกความรู้จี้ ขึ้นร้อยละ 81.0 และความขัดแย้งเรื่องการเงินร้อยละ 774 ความรุนแรงที่พบเห็นในชุมชนส่วนใหญ่ (ร้อยละ 52.7) คือทางด้านจิตใจ โดยเฉพาะการถูกคว่พบเห็นได้มากที่สุดร้อยละ 86.2 รองลงมา (ร้อยละ 44.2) คือความรุนแรงทางด้านกายได้แก่ การตบ ตี เตะ ต่อย ร้อยละ 72.8 ส่วนความรุนแรงทางเพศ (ร้อยละ 3.1) คือการบังคับขืนใจทางเพศมีร้อยละ 9.9 การมีส่วนร่วมของชุมชนเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความเห็นด้วยในระดับมากว่า องค์กรหมชนควรมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการป้องกันและแก้ไขปัญหา (ร้อยละ 56) มีการสร้างเครือข่ยเพื่อทำงานร่วมกัน (ร้อยละ 56.4) การจัดฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องแก่องค์กรขุมขนและฝึกปฏิบัติจริงด้วย (ร้อยละ 56.7) การจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความสมานฉันที่ให้แก่คนในชุมชนและครอบครัว (ร้อยละ 60) และคณะกรรมการของชุมชนไม่ควรมีกรอบกำหนดระยะเวลาในการดำเนินงานบริหาร (ร้อยละ 60.3) และที่สำคัญจะต้องได้รับความร่วมมือจากองค์กร มูลนิธิและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (ร้อยละ 61.7) The purpose of this survey research was to study The Problem of The Domestic Violence and The Participation of 3 Communities in Saraburi Province. The samples of 600 people in 3 communities, 200 people from each community was selected by simple random sampling. The data collection method was questionairs between 20 January and 10 February 2009. The analysis method was descriptive statistics. The results were as follows. The study found that mostly samples were women 67% from 41-50 years 23.5% , still married 60.3%, income less than 5,000 baht / month 46.6%, general employment 44.2% and 59.7% were single family. The reasons of violence were impetuosity, fuss / grumble and financial problem 85.3%, 81%, 77.4% respectively. The categories of violence which happened in 3 communities were mental abuse (52.7%) espccially cursing 86.2%, physical abuse (44.2%) such as slap, hit, kick, punch 72.8% and scxual abusc (3.1%) such as rape 9.9%. The participation of community for solving the problem of domestic violence. The samples showed high score level in these opinions. Community organization should participate with government sector to prevent and solve problem 56%. Community organization should contact one another to form cooperation network (56.4%). Training about domestic violence to community organization should be done continuously with practical (56.7%). Activity to build up the unity in family and community should be done (60%). Working period of management of domestic violence solving committee should not be specified (60.3 %) and solve this problem should be supported from organization foundation and any sector which is concerned (61.7%). 2022-10-11T02:10:11Z 2022-10-11T02:10:11Z 2565-10-11 2553 Original Article รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 33, ฉบับที่ 4 (ต.ค.-ธ.ค. 2553), 242-250 0125-3611 (Print) 2651-0561 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79875 tha มหาวิทยาลัยมหิดล งานสังคมสงเคราะห์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานวิจัย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf