การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดระดับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิก และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรการแพทย์ที่ให้บริการผู้ป่วยโดยตรง จำนวน 260 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบควา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จรัญ โดยเจริญ, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ, วิริณธิ์ กิตติพิชัย, Charan Doicharoen, Chardsumon Prutipinyo, Wirin Kittipichai
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
Format: Original Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79933
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79933
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การจัดการความเสี่ยงทางคลินิก
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย
การควบคุมกำกับติดตามการกระทำที่ไม่ปลอดภัย
อิทธิพลจากองค์กร
โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
Clinical Risk Management
HFACS
Unsafe Act
Unsafe Supervision
Organization Influences
Chumphon Khet Udomsakdi Hospital
spellingShingle การจัดการความเสี่ยงทางคลินิก
การกระทำที่ไม่ปลอดภัย
การควบคุมกำกับติดตามการกระทำที่ไม่ปลอดภัย
อิทธิพลจากองค์กร
โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
Clinical Risk Management
HFACS
Unsafe Act
Unsafe Supervision
Organization Influences
Chumphon Khet Udomsakdi Hospital
จรัญ โดยเจริญ
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
วิริณธิ์ กิตติพิชัย
Charan Doicharoen
Chardsumon Prutipinyo
Wirin Kittipichai
การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
description การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดระดับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิก และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรการแพทย์ที่ให้บริการผู้ป่วยโดยตรง จำนวน 260 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยวิธีแอลฟาของครอนบาค ในส่วนที่ 2 และ 3ได้เท่ากับ .805 และ .957 ตามลำดับ วิเคราะห์โดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติหาความสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 94.2) มีอายุระหว่าง 22-30 ปี (ร้อยละ 57.7) เป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 86.2) การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 96.20) มีชั่วโมงการทำงาน 41-50 ชั่วโมง/ต่อสัปดาห์ (ร้อยละ 36.20) และมีระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลอยู่ระหว่าง 3-5 ปี (ร้อยละ 35.8) การวิเคราะห์การจัดการความเสี่ยงทางคลินิก พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับสูง ( =3.57, S.D.=0.63) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า การกระทำที่ไม่ปลอดภัย การควบคุมกำกับติดตามการกระทำที่ไม่ปลอดภัย และอิทธิพลจากองค์กร มีความสัมพันธ์กับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ (r= -0.906, r=0.682 และ r = 0.430 ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (0.05) ดังนั้น ควรส่งเสริมให้บุคลากรค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกจากการปฏิบัติงาน และการศึกษา เรียนรู้ อุบัติการณ์ความเสี่ยงจากหน่วยงานอื่น เพื่อวิเคราะห์ความรุนแรง ความถี่ และการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้ ผู้บริหารมีส่วนสำคัญต่อระบบบริหารจัดการความเสี่ยงทางคลินิก โดยกำหนดผู้มีบทบาทหน้าที่คอยควบคุมกำกับ ติดตาม และกำหนดมาตรการป้องกันการกระทำที่ไม่ปลอดภัยของบุคลากรการแพทย์
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข
จรัญ โดยเจริญ
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
วิริณธิ์ กิตติพิชัย
Charan Doicharoen
Chardsumon Prutipinyo
Wirin Kittipichai
format Original Article
author จรัญ โดยเจริญ
ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ
วิริณธิ์ กิตติพิชัย
Charan Doicharoen
Chardsumon Prutipinyo
Wirin Kittipichai
author_sort จรัญ โดยเจริญ
title การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
title_short การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
title_full การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
title_fullStr การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
title_full_unstemmed การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
title_sort การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79933
_version_ 1763494627798679552
spelling th-mahidol.799332023-03-31T04:27:06Z การจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ Clinical risk management for medical personnel in Chumphon Khet Udomsakdi Hospital จรัญ โดยเจริญ ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ วิริณธิ์ กิตติพิชัย Charan Doicharoen Chardsumon Prutipinyo Wirin Kittipichai มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาอนามัยครอบครัว การจัดการความเสี่ยงทางคลินิก การกระทำที่ไม่ปลอดภัย การควบคุมกำกับติดตามการกระทำที่ไม่ปลอดภัย อิทธิพลจากองค์กร โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ Clinical Risk Management HFACS Unsafe Act Unsafe Supervision Organization Influences Chumphon Khet Udomsakdi Hospital การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวัดระดับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิก และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรการแพทย์ที่ให้บริการผู้ป่วยโดยตรง จำนวน 260 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยวิธีแอลฟาของครอนบาค ในส่วนที่ 2 และ 3ได้เท่ากับ .805 และ .957 ตามลำดับ วิเคราะห์โดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติหาความสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 94.2) มีอายุระหว่าง 22-30 ปี (ร้อยละ 57.7) เป็นพยาบาลวิชาชีพ (ร้อยละ 86.2) การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 96.20) มีชั่วโมงการทำงาน 41-50 ชั่วโมง/ต่อสัปดาห์ (ร้อยละ 36.20) และมีระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลอยู่ระหว่าง 3-5 ปี (ร้อยละ 35.8) การวิเคราะห์การจัดการความเสี่ยงทางคลินิก พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับสูง ( =3.57, S.D.=0.63) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ พบว่า การกระทำที่ไม่ปลอดภัย การควบคุมกำกับติดตามการกระทำที่ไม่ปลอดภัย และอิทธิพลจากองค์กร มีความสัมพันธ์กับการจัดการความเสี่ยงทางคลินิกของบุคลากรการแพทย์ โรงพยาบาลชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ (r= -0.906, r=0.682 และ r = 0.430 ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (0.05) ดังนั้น ควรส่งเสริมให้บุคลากรค้นหาความเสี่ยงเชิงรุกจากการปฏิบัติงาน และการศึกษา เรียนรู้ อุบัติการณ์ความเสี่ยงจากหน่วยงานอื่น เพื่อวิเคราะห์ความรุนแรง ความถี่ และการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น ทั้งนี้ ผู้บริหารมีส่วนสำคัญต่อระบบบริหารจัดการความเสี่ยงทางคลินิก โดยกำหนดผู้มีบทบาทหน้าที่คอยควบคุมกำกับ ติดตาม และกำหนดมาตรการป้องกันการกระทำที่ไม่ปลอดภัยของบุคลากรการแพทย์ The objective of this research was to measure the level of clinical risk management and study factors related to clinical risk management of medical personnel in Chumphon Khet Udomsakdi hospital.The samples consisted of 260 medical personnel, who directlyprovide medical services.Self-administered questionnaire is used for data collection.The content validity was explored by 3 experts.The reliabilities test using the Cronbach’s alpha coefficients in parts 2 and 3 were 0.805 and 0.957 respectively. Data were analyzed by the frequency, percentage, average,standard deviation andPearson’scorrelation test.The results revealed that.The Most of the sample were female (94.2%), aged between 22-30 years (57.7%),registered nurses (86.2%), bachelor's degree (96.20%), working hours 41-50 hours/week (36.20%), and the working period in hospital between 3-5 years (35.8%). The Overall clinical risk management of medical personnel was high level ( ̅=3.57, S.D.=0.63). The correlation analysis found that the unsafe act,unsafe supervision and organization influence, there was a correlationwith clinical risk management with statistically significant(r= -0.906, r= 0.682 and r = 0.430 (p< 0.05))respectively.Therefore, personnel should be encouraged to risks identification proactively from operations and study and learn about risk incidents from other unit to analyze the severity, frequency and potential loss. The executive important to the clinical risk management system, by assigning persons with rolesto control, supervise, monitor and determine measures to prevent unsafe act of medical personnel. Keywords:Clinical Risk Management; HFACS; Unsafe Act; Unsafe Supervision;Organization Influences;Chumphon Khet Udomsakdi Hospital 2022-10-20T04:42:11Z 2022-10-20T04:42:11Z 2565-10-20 2565 Original Article วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 8, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2565), 415-425 2697-6285 (Online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79933 tha มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ภาควิชาอนามัยครอบครัว คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf