การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายของคำว่า “ลวนลาม” ตามความรับรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) โดยมีเพศเป็นตัวแปรในการพิจารณาแบ่งเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเพศชายจำนวน ๒๕ คน และเพศหญิงจำนวน ๒๕ คน ผลการวิจัยพบว่าเพศหญิงมีแนวโน้มให้ค่าน้ำหนักของการลวนลามมากกว่าเพศ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79956 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79956 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.799562023-03-31T02:23:46Z การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) University Students’ Interpretation of Thai word for “Molest” Using the Concept of Prototype Theory ปานรุ้ง ภู่จำปา เขมฤทัย บุญวรรณ Parnrung Phujumpa Khemruthai Boonwan มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ ลวนลาม องค์ประกอบทางความหมาย เพศ ทฤษฎีต้นแบบ molest semantic component gender prototype theory งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายของคำว่า “ลวนลาม” ตามความรับรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) โดยมีเพศเป็นตัวแปรในการพิจารณาแบ่งเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเพศชายจำนวน ๒๕ คน และเพศหญิงจำนวน ๒๕ คน ผลการวิจัยพบว่าเพศหญิงมีแนวโน้มให้ค่าน้ำหนักของการลวนลามมากกว่าเพศชาย โดยสถานการณ์ที่เพศหญิงให้ค่าน้ำหนักมากกว่าเพศชายมี ๑๐ สถานการณ์ จาก ๑๖ สถานการณ์ ซึ่งมี ๒ สถานการณ์ที่เพศหญิงให้ค่าน้ำหนักมากกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p≤๐.๐๕ เพศชายและเพศหญิงตีความว่าการลวนลามทางคำพูดเป็นการลวนลามมากกว่าการลวนลามทางการกระทำ การวิจัยนี้จะช่วยในการทำความเข้าใจการตีความที่แตกต่างกันระหว่างเพศชายและเพศหญิงและสามารถเลือกวิธีการปฏิบัติหรือการวางตัวเมื่อต้องอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น This article studied the meaning of the word "molest" as perceived by university students according to the concept of Prototype Theory. Gender was used as the independent variable of the study, and the sample group consisted of 25 males and 25 females. The results of the study showed that females were more likely to have encountered molestation than males. Ten out of the 16 types of situations described by researchers were interpreted as molestation by students; 2 out of those 10 situations were statistically significantly (p < 0.05) more likely to be interpreted as molestation by females than by males. Males and females both interpret verbal abuse as harassment rather than mistreatment. This research helps us to understand differences in interpretation between males and females, and may provide some guidance on how to treat one another and maintain proper conduct in society. 2022-10-26T04:00:53Z 2022-10-26T04:00:53Z 2565-10-26 2564 Research Article วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2564), 1-49 2630-0915 (online) https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79956 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ลวนลาม องค์ประกอบทางความหมาย เพศ ทฤษฎีต้นแบบ molest semantic component gender prototype theory |
spellingShingle |
ลวนลาม องค์ประกอบทางความหมาย เพศ ทฤษฎีต้นแบบ molest semantic component gender prototype theory ปานรุ้ง ภู่จำปา เขมฤทัย บุญวรรณ Parnrung Phujumpa Khemruthai Boonwan การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) |
description |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมายของคำว่า “ลวนลาม” ตามความรับรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) โดยมีเพศเป็นตัวแปรในการพิจารณาแบ่งเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเพศชายจำนวน ๒๕ คน และเพศหญิงจำนวน ๒๕ คน
ผลการวิจัยพบว่าเพศหญิงมีแนวโน้มให้ค่าน้ำหนักของการลวนลามมากกว่าเพศชาย โดยสถานการณ์ที่เพศหญิงให้ค่าน้ำหนักมากกว่าเพศชายมี ๑๐ สถานการณ์ จาก ๑๖ สถานการณ์ ซึ่งมี ๒ สถานการณ์ที่เพศหญิงให้ค่าน้ำหนักมากกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ p≤๐.๐๕ เพศชายและเพศหญิงตีความว่าการลวนลามทางคำพูดเป็นการลวนลามมากกว่าการลวนลามทางการกระทำ การวิจัยนี้จะช่วยในการทำความเข้าใจการตีความที่แตกต่างกันระหว่างเพศชายและเพศหญิงและสามารถเลือกวิธีการปฏิบัติหรือการวางตัวเมื่อต้องอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเหมาะสมมากขึ้น |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ ปานรุ้ง ภู่จำปา เขมฤทัย บุญวรรณ Parnrung Phujumpa Khemruthai Boonwan |
format |
Article |
author |
ปานรุ้ง ภู่จำปา เขมฤทัย บุญวรรณ Parnrung Phujumpa Khemruthai Boonwan |
author_sort |
ปานรุ้ง ภู่จำปา |
title |
การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) |
title_short |
การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) |
title_full |
การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) |
title_fullStr |
การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) |
title_full_unstemmed |
การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (Prototype Theory) |
title_sort |
การตีความคำว่า “ลวนลาม” ในภาษาไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ (prototype theory) |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79956 |
_version_ |
1763490262465642496 |