ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก

วัตถุประสงค์: การวิจัยนี้เพื่อศึกษาประสบการณ์การให้บริการสุขภาพจิตในเวลา 6 เดือนแรกหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิและศึกษาปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคในการให้บริการสุขภาพจิตจากมุมมองของพยาบาลในจังหวัดพังงา วิธีดำเนินการวิจัย: ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลคือพยาบาลปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพระ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์, Acharaporn Seeherunwong, ประภา ยุทธไตร, Prapa Yuttatri, อติรัตน์ วัฒนไพลิน, Atirat Wattanapailin, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง, Atittaya Pornchaikate Au-Yeong
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8735
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.8735
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ภัยพิบัติ
วิเคราะห์เนื้อหา
การให้บริการสุขภาพจิต
ผู้ประสบภัย
สึนามิ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
spellingShingle ภัยพิบัติ
วิเคราะห์เนื้อหา
การให้บริการสุขภาพจิต
ผู้ประสบภัย
สึนามิ
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
Acharaporn Seeherunwong
ประภา ยุทธไตร
Prapa Yuttatri
อติรัตน์ วัฒนไพลิน
Atirat Wattanapailin
อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง
Atittaya Pornchaikate Au-Yeong
ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก
description วัตถุประสงค์: การวิจัยนี้เพื่อศึกษาประสบการณ์การให้บริการสุขภาพจิตในเวลา 6 เดือนแรกหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิและศึกษาปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคในการให้บริการสุขภาพจิตจากมุมมองของพยาบาลในจังหวัดพังงา วิธีดำเนินการวิจัย: ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลคือพยาบาลปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพระดับต่างๆ จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม 2 ครั้ง และสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวจำนวน 10 ครั้ง วิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย: ประสบการณ์การให้บริการสุขภาพจิตจากมุมมองของพยาบาลมี 5 ประเด็น ประเด็นแรกเป็นการดูแล สุขภาพจิตในช่วงวิกฤติฉุกเฉิน ได้แก่ “เป็นเพื่อนร่วมทุกข์ช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ประคับประคองจิตใจ” ประเด็นที่ 2-4 เป็นเรื่องการดำเนินงานในการให้บริการสุขภาพจิต ได้แก่ “คนในชุมชนบอก จึงพบคนเครียดสูง” “ทำงานเหมือนเป็นสะพาน ขาดการมีส่วนร่วม” และ “ต่างคนต่างทำ ไม่ประสานพื้นที่ มีความสับสน” และประเด็นสุดท้าย เกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการ สุขภาพจิต ได้แก่ “ฟ้าเริ่มใส เจ้าหน้าที่เริ่มล้า” สำหรับปัจจัยเกื้อหนุนได้แก่ การมีพยาบาลที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริการ สุขภาพจิตในพื้นที่ การมีเครือข่ายชุมชน และอสม.ที่เข้มแข็ง การเรียนรู้การบริหารจัดการจากท้องที่อื่น และปัจจัยที่เป็น อุปสรรค ได้แก่การขาดการบริหารจัดการที่เป็นระบบ และการมีผู้ประสบภัยพักพิงในพื้นที่จำนวนมาก สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนรับมือการช่วยเหลือด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภัยพิบัติโดยนำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ รวมทั้งมีแผนบริหารจัดการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่อย่างเป็นระบบ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
Acharaporn Seeherunwong
ประภา ยุทธไตร
Prapa Yuttatri
อติรัตน์ วัฒนไพลิน
Atirat Wattanapailin
อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง
Atittaya Pornchaikate Au-Yeong
format Article
author อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
Acharaporn Seeherunwong
ประภา ยุทธไตร
Prapa Yuttatri
อติรัตน์ วัฒนไพลิน
Atirat Wattanapailin
อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง
Atittaya Pornchaikate Au-Yeong
author_sort อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์
title ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก
title_short ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก
title_full ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก
title_fullStr ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก
title_full_unstemmed ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก
title_sort ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8735
_version_ 1764209891542564864
spelling th-mahidol.87352023-03-31T10:54:33Z ประสบการณ์ของพยาบาลในการให้บริการสุขภาพจิตแก่ผู้ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 หลังภัยพิบัติ 6 เดือนแรก Thai Nurses’ Experiences in Providing Mental Health Services to Survivors of the 2004 Tsunami Six Months Post-disaster อัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์ Acharaporn Seeherunwong ประภา ยุทธไตร Prapa Yuttatri อติรัตน์ วัฒนไพลิน Atirat Wattanapailin อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง Atittaya Pornchaikate Au-Yeong มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ ภัยพิบัติ วิเคราะห์เนื้อหา การให้บริการสุขภาพจิต ผู้ประสบภัย สึนามิ วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: การวิจัยนี้เพื่อศึกษาประสบการณ์การให้บริการสุขภาพจิตในเวลา 6 เดือนแรกหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิและศึกษาปัจจัยส่งเสริมและอุปสรรคในการให้บริการสุขภาพจิตจากมุมมองของพยาบาลในจังหวัดพังงา วิธีดำเนินการวิจัย: ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลคือพยาบาลปฏิบัติงานในสถานบริการสุขภาพระดับต่างๆ จำนวน 16 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนากลุ่ม 2 ครั้ง และสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัวจำนวน 10 ครั้ง วิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย: ประสบการณ์การให้บริการสุขภาพจิตจากมุมมองของพยาบาลมี 5 ประเด็น ประเด็นแรกเป็นการดูแล สุขภาพจิตในช่วงวิกฤติฉุกเฉิน ได้แก่ “เป็นเพื่อนร่วมทุกข์ช่วยแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ประคับประคองจิตใจ” ประเด็นที่ 2-4 เป็นเรื่องการดำเนินงานในการให้บริการสุขภาพจิต ได้แก่ “คนในชุมชนบอก จึงพบคนเครียดสูง” “ทำงานเหมือนเป็นสะพาน ขาดการมีส่วนร่วม” และ “ต่างคนต่างทำ ไม่ประสานพื้นที่ มีความสับสน” และประเด็นสุดท้าย เกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการ สุขภาพจิต ได้แก่ “ฟ้าเริ่มใส เจ้าหน้าที่เริ่มล้า” สำหรับปัจจัยเกื้อหนุนได้แก่ การมีพยาบาลที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริการ สุขภาพจิตในพื้นที่ การมีเครือข่ายชุมชน และอสม.ที่เข้มแข็ง การเรียนรู้การบริหารจัดการจากท้องที่อื่น และปัจจัยที่เป็น อุปสรรค ได้แก่การขาดการบริหารจัดการที่เป็นระบบ และการมีผู้ประสบภัยพักพิงในพื้นที่จำนวนมาก สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลในการวางแผนรับมือการช่วยเหลือด้านจิตใจแก่ผู้ประสบภัยพิบัติโดยนำชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยเหลือ รวมทั้งมีแผนบริหารจัดการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในพื้นที่อย่างเป็นระบบ Purpose: This research explored Thai nurses’ experiences in providing mental health services six months after the 2004 tsunami disaster, and their perspectives of factors that promoted and impeded services in the affected areas working in Phungha Province. Design: A qualitative research design was employed. Methods: Information was obtained from 16 nurses who had worked at a variety of health service centers. Data were collected by conducting 2 focus groups and 10 in-depth individual interviews, and analysed by content analysis. Main findings: Five themes were emerged. The first related to care during the crisis phase: Be a friend to face with struggle, helping to manage forthcoming problems, and being supportive. Themes two, three and four related to management of mental health services: Informing people in the community, so that individuals with stress were discovered; Working as a bridge, lack of participation; and Working separately, no collaboration, lots of confusion. The last theme related to mental health service providers: When the sky became bright, health care personnel became exhausted. Key promoting factors of mental health services included having nurses to be responsible for providing mental health services in affected areas; having strong community networking and health volunteers; and learning management strategies from other areas. On the other hand, impeding factors for mental health services included a lack of systematic management and having large numbers of survivors living in the same areas. Conclusions and recommendations: The findings suggest a plan for psychological assistance of survivors of the disaster by having community participation as well as a plan for systematic management of the people in the affected areas. ได้รับทุนการวิจัยจากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิจากบริษัท Pfizer Inc 2018-02-09T09:32:17Z 2018-02-09T09:32:17Z 2018-02-09 2555 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 30, ฉบับที่ 1 ( ม.ค. - มี.ค 2555), 16-27 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8735 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf