ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนในเขตจังหวัดจันทบุรี ถูกสุ่มมา 1 ห้องเรียนและนักเรียนในห้องถูกสุ่มมา 30 คน หลังจากนั้นนักเรียนถูกสุ่มเป็นกลุ่มท...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อติรัตน์ วัฒนไพลิน, Atirat Wattanapailin, ลลนา ประทุม, Lalana Pratum, ยาใจ สิทธิมงคล, Yajai Sitthimongkol
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8745
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.8745
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic วัยรุ่น
โปรแกรมโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียด
ภาวะซึมเศร้า
Open Access article
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
spellingShingle วัยรุ่น
โปรแกรมโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียด
ภาวะซึมเศร้า
Open Access article
Journal of Nursing Science
วารสารพยาบาลศาสตร์
อติรัตน์ วัฒนไพลิน
Atirat Wattanapailin
ลลนา ประทุม
Lalana Pratum
ยาใจ สิทธิมงคล
Yajai Sitthimongkol
ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนในเขตจังหวัดจันทบุรี ถูกสุ่มมา 1 ห้องเรียนและนักเรียนในห้องถูกสุ่มมา 30 คน หลังจากนั้นนักเรียนถูกสุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 15 คนและกลุ่มควบคุม 15 คน ก่อนการทดลองกลุ่มตัวอย่างทั้ง 30 คน จะได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็กหลังจากนั้นกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียด สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ๆ ละ1 ชั่วโมง - 1 ชั่วโมง 30 นาทีจำนวน 11 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลช่วยเหลือตามปกติที่ทางโรงเรียนจัดให้ กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มจะได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าอีกครั้ง ณ เวลาเดียวกัน คือ เมื่อกลุ่มทดลองสิ้นสุดโปรแกรมทันที ระยะติดตามผล 1 เดือน และระยะติดตามผล 3 เดือน ค่าคะแนนภาวะซึมเศร้าที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าก่อนทดลอง หลังทดลองและระยะติดตามผลภายในกลุ่มทดลองและเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ repeated-measures ANOVA ผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่าวัยรุ่นในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที ระยะติดตามผล 1 เดือนและระยะติดตามผล 3 เดือน ต่ำกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมทันที ระยะติดตามผล 1 เดือน และระยะติดตามผล 3 เดือน ต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทาง (p < .01, p< .01 และ p < .05 ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพจิตวัยรุ่น สามารถนำโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดไปใช้ในเชิงป้องกันและลดปัญหาภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นได้ โดยส่งเสริมและฝึกฝนให้วัยรุ่นมีทักษะในการจัดการกับความคิดทางลบและมีทักษะในการจัดการกับความเครียดที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์
อติรัตน์ วัฒนไพลิน
Atirat Wattanapailin
ลลนา ประทุม
Lalana Pratum
ยาใจ สิทธิมงคล
Yajai Sitthimongkol
format Article
author อติรัตน์ วัฒนไพลิน
Atirat Wattanapailin
ลลนา ประทุม
Lalana Pratum
ยาใจ สิทธิมงคล
Yajai Sitthimongkol
author_sort อติรัตน์ วัฒนไพลิน
title ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น
title_short ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น
title_full ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น
title_fullStr ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น
title_sort ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8745
_version_ 1763495269927747584
spelling th-mahidol.87452023-03-30T12:13:01Z ผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น An Effect of Coping Skill Training Program on Depression in Early Adolescents อติรัตน์ วัฒนไพลิน Atirat Wattanapailin ลลนา ประทุม Lalana Pratum ยาใจ สิทธิมงคล Yajai Sitthimongkol มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. อาจารย์ วัยรุ่น โปรแกรมโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียด ภาวะซึมเศร้า Open Access article Journal of Nursing Science วารสารพยาบาลศาสตร์ วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดต่อภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นตอนต้น รูปแบบการวิจัย: การวิจัยแบบทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนในเขตจังหวัดจันทบุรี ถูกสุ่มมา 1 ห้องเรียนและนักเรียนในห้องถูกสุ่มมา 30 คน หลังจากนั้นนักเรียนถูกสุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 15 คนและกลุ่มควบคุม 15 คน ก่อนการทดลองกลุ่มตัวอย่างทั้ง 30 คน จะได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยใช้แบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็กหลังจากนั้นกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียด สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ๆ ละ1 ชั่วโมง - 1 ชั่วโมง 30 นาทีจำนวน 11 ครั้ง ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการดูแลช่วยเหลือตามปกติที่ทางโรงเรียนจัดให้ กลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่มจะได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าอีกครั้ง ณ เวลาเดียวกัน คือ เมื่อกลุ่มทดลองสิ้นสุดโปรแกรมทันที ระยะติดตามผล 1 เดือน และระยะติดตามผล 3 เดือน ค่าคะแนนภาวะซึมเศร้าที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าก่อนทดลอง หลังทดลองและระยะติดตามผลภายในกลุ่มทดลองและเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยใช้สถิติ repeated-measures ANOVA ผลการวิจัย: ผลการศึกษา พบว่าวัยรุ่นในกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าหลังสิ้นสุดโปรแกรมทันที ระยะติดตามผล 1 เดือนและระยะติดตามผล 3 เดือน ต่ำกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนภาวะซึมเศร้าเมื่อสิ้นสุดโปรแกรมทันที ระยะติดตามผล 1 เดือน และระยะติดตามผล 3 เดือน ต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทาง (p < .01, p< .01 และ p < .05 ตามลำดับ) สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพจิตวัยรุ่น สามารถนำโปรแกรมพัฒนาทักษะการเผชิญความเครียดไปใช้ในเชิงป้องกันและลดปัญหาภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นได้ โดยส่งเสริมและฝึกฝนให้วัยรุ่นมีทักษะในการจัดการกับความคิดทางลบและมีทักษะในการจัดการกับความเครียดที่หลากหลายและมีประสิทธิภาพ Purpose: To examine an effect of a coping skill training program on depression in early adolescents. Design: Experimental research. Methods: The study group consisted of 30 Mathayomsuksa 2 (8th grade) students from a school in Chantaburi Province. They were randomly assigned into an experimental group and a control group, with 15 students each. Before the experiment, all 30 subjects were assessed to complete the Children’s Depression Inventory. The experimental group then received the coping skill training program twice a week for 11 sessions. Each session lasted 60-90 minutes. On the other hand, the control group received the usual care provided by the school. Both groups of subjects were assessed to determine their depression again at post-intervention immediately, one-month, and three-month follow-ups. The depression scores elicited from the subjects in the experimental group were analyzed to compare the differences of mean scores between pre and post – intervention and to compare the difference of mean scores of depression between the experimental and the control groups using a repeated-measures ANOVA. Main findings: The findings revealed that the mean score of depression of the subjects in the experimental group at postintervention immediately, one-month follow- up and threemonth follow- up was lower than that at pre-intervention with a statistical significance (p < .001). Moreover, the mean score of depression of the subjects in the experimental group was lower than in the control group at three points of time: postintervention,one-month follow-up and three-month follow- up with a statistical significance (p < .01, p < .01, and p < .05,respectively). Conclusion and recommendations: Based on the study findings, it is recommended that healthcare personnel who are involved with mental health care of adolescents should use the coping skill training program to prevent or reduce depression among adolescents. Training should also be provided to equip the adolescents with skills to deal with negative thought as well as various stress management skills to enable them to effectively cope with stress and prevent them from depression. 2018-02-19T09:11:19Z 2018-02-19T09:11:19Z 2018-02-19 2554 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 2), ฉบับที่ 3 (ก.ค - ก.ย. 2554), 39-47 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8745 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf