การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานาย (correlational predictive research) วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจํานวน 92 คน ที่รับการรักษาในโรงพยาบาลระดับตติ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: พิมพา เทพวัลย์, Pimpa Thepphawan, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, Doungrat Watthnakitkrileart, คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล, Kanaungnit Pongthavornkamol, ฉัตรกนก ทุมวิภาต, Chatkanok Dumavibhat
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8801
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.8801
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การรับรู้ความเจ็บป่วย
การตอบสนองทางอารมณ์
ประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การตัดสินใจมารับการรักษา
ผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Open Access article
spellingShingle การรับรู้ความเจ็บป่วย
การตอบสนองทางอารมณ์
ประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การตัดสินใจมารับการรักษา
ผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
Open Access article
พิมพา เทพวัลย์
Pimpa Thepphawan
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
Doungrat Watthnakitkrileart
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Chatkanok Dumavibhat
การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานาย (correlational predictive research) วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจํานวน 92 คน ที่รับการรักษาในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการประเมินการรับรู้ความเจ็บป่วยฉบับย่อ (The Brief Illness Perception Questionnaire, Brief IPQ) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน สถิติ Mann-Whitney U test และการวิเคราะห์การถดถอยแบบเส้นตรงพหุคูณ ผลการวิจัย: พบว่าผู้ป่วยใช้ระยะเวลาในการตัดสินใจมารับการรักษามีค่ามัธยฐาน 37 นาที (mean = 120, S.D. = 157.087) การรับรู้ความเจ็บป่วยทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะอาการที่เกิดขึ้น ด้านความสามารถในการควบคุม/รักษาความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น และด้านผลที่คาดว่าจะเกิดตามมาภายหลังจากความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สามารถร่วมกันทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาได้ 67.1% ผลที่คาดว่าจะเกิดตามมาภายหลังจากความเจ็บป่วยและความสามารถในการควบคุม/รักษาความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น สามารถทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05 และ .001 ตามลําดับ) ผู้ป่วยที่เคยมีประสบการณ์การเข้ารับการรักษาจะตัดสินใจมารับการรักษาล่าช้ากว่าผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ครั้งแรกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลต้องตระหนักถึงการรับรู้ถึงความเจ็บป่วย ผลที่ผู้ป่วยคาดว่าจะเกิดตามมา เพื่อมาใช้ในการวางแผนให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยหรือพัฒนาวิธีการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องในการเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดการตัดสินใจมารับการรักษาได้อย่างทันท่วงที
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
พิมพา เทพวัลย์
Pimpa Thepphawan
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
Doungrat Watthnakitkrileart
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Chatkanok Dumavibhat
format Article
author พิมพา เทพวัลย์
Pimpa Thepphawan
ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ
Doungrat Watthnakitkrileart
คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล
Kanaungnit Pongthavornkamol
ฉัตรกนก ทุมวิภาต
Chatkanok Dumavibhat
author_sort พิมพา เทพวัลย์
title การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_short การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_full การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_fullStr การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_full_unstemmed การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
title_sort การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8801
_version_ 1763487759846080512
spelling th-mahidol.88012023-03-30T20:28:29Z การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์ การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน Cognitive Representation, Emotional Responses and Hospitalization Experience in Predicting Decision Making for Receiving Treatment Among Patients with Acute Coronary Syndrome พิมพา เทพวัลย์ Pimpa Thepphawan ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ Doungrat Watthnakitkrileart คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล Kanaungnit Pongthavornkamol ฉัตรกนก ทุมวิภาต Chatkanok Dumavibhat มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล . สํานักงานศูนย์โรคหัวใจสมเด็จพระบรมราชินีนาถ การรับรู้ความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ ประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล การตัดสินใจมารับการรักษา ผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science Open Access article วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยในการทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาของผู้ป่วยกลุ่มอาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน รูปแบบการวิจัย: การวิจัยหาความสัมพันธ์เชิงทํานาย (correlational predictive research) วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยจํานวน 92 คน ที่รับการรักษาในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามการประเมินการรับรู้ความเจ็บป่วยฉบับย่อ (The Brief Illness Perception Questionnaire, Brief IPQ) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน สถิติ Mann-Whitney U test และการวิเคราะห์การถดถอยแบบเส้นตรงพหุคูณ ผลการวิจัย: พบว่าผู้ป่วยใช้ระยะเวลาในการตัดสินใจมารับการรักษามีค่ามัธยฐาน 37 นาที (mean = 120, S.D. = 157.087) การรับรู้ความเจ็บป่วยทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะอาการที่เกิดขึ้น ด้านความสามารถในการควบคุม/รักษาความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น และด้านผลที่คาดว่าจะเกิดตามมาภายหลังจากความเจ็บป่วย การตอบสนองทางอารมณ์ และประสบการณ์การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล สามารถร่วมกันทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาได้ 67.1% ผลที่คาดว่าจะเกิดตามมาภายหลังจากความเจ็บป่วยและความสามารถในการควบคุม/รักษาความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น สามารถทํานายการตัดสินใจมารับการรักษาอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05 และ .001 ตามลําดับ) ผู้ป่วยที่เคยมีประสบการณ์การเข้ารับการรักษาจะตัดสินใจมารับการรักษาล่าช้ากว่าผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ครั้งแรกอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p = .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลต้องตระหนักถึงการรับรู้ถึงความเจ็บป่วย ผลที่ผู้ป่วยคาดว่าจะเกิดตามมา เพื่อมาใช้ในการวางแผนให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยหรือพัฒนาวิธีการปฏิบัติการพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องในการเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาลส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดการตัดสินใจมารับการรักษาได้อย่างทันท่วงที Purpose: To examine the factors predicting decision making for receiving treatment among patients with acute coronary syndrome. Design: Correlational predictive research. Methods:The samples comprised 92 patients with acute coronary syndrome were admitted in a super tertiary level hospital, Bangkok. Data were collected by the Brief Illness Perception Questionnaire (Brief IPQ). The statistics used in the analysis include descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation, multiple regression analysis, and the Mann-Whitney U test.Main findings: The results revealed that the median decision time to seek treatment was 37 minutes from onset (mean = 120 minutes, S.D. = 157.087). Three components of cognitive representation (illness identity, control/cure, and consequences), emotional response, and hospitalization experience with acute coronary syndrome could predict the decision making for receiving treatment at 67.1%, The control/cure component and the consequences component which could predict decision making for receiving treatment of the participant, which was statistically significant (p < .05 and .001). This study found that patients who had hospitalization experience with acute coronary syndrome decide to receive treatment later than patients who had no experience at a significance level of 0.05.Conclusion and Recommendations: Nurses must be aware of cognitive representation and to make plans for providently information to patient in order to orientation or develop informational interventions to establish correct understanding about treatment and promote appropriate decision making for receiving treatment. 2018-02-23T08:25:17Z 2018-02-23T08:25:17Z 2018-02-23 2554 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 1), ฉบับที่ 2 (เม.ย. - มิ.ย. 2554), 111-119 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8801 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf