The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach

การศึกษาเชิงบรรยายภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปัจจัยระดับสถานบริการ และระดับผู้ป่วยต่อภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง สุ่มตัวอย่างผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง 500 รายและ พยาบาลล้างไตทางช่องท้อง 38 รายจากสถานบริการล้างไตทางช่องท้องจำนวน 27 แห่ง ระหว่างเดือนมิถุนายน 2553 ถึงเดือ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Rotsukon Varitsakul
Other Authors: Siriorn Sindhu
Language:English
Published: Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center 2023
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/89351
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: English
id th-mahidol.89351
record_format dspace
spelling th-mahidol.893512023-09-05T13:59:41Z The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach ประสิทธิผลของระบบบริการสุขภาพสำหรับผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง : การวิเคราะห์พหุระดับ Rotsukon Varitsakul Siriorn Sindhu Dennison Himmelfarb, Chery R. Aurawamon Sriyuktasuth Chukiat Viwatwongkasem Peritoneal Dialysis Multilevel Analysis Health Services การศึกษาเชิงบรรยายภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปัจจัยระดับสถานบริการ และระดับผู้ป่วยต่อภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง สุ่มตัวอย่างผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง 500 รายและ พยาบาลล้างไตทางช่องท้อง 38 รายจากสถานบริการล้างไตทางช่องท้องจำนวน 27 แห่ง ระหว่างเดือนมิถุนายน 2553 ถึงเดือนตุลาคม 2554 ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน และใช้การวิเคราะห์พหุระดับ ผลการศึกษาพบว่า ภาวะแทรกซ้อนรายกลุ่มที่มีความชุกสูงมาก คือ กลุ่มภาวะแทรกซ้อนจากไตวายเรื้อรัง พบร้อยละ 99.2 กลุ่มภาวะแทรกซ้อนจากการล้างไต พบร้อยละ 95.8 และกลุ่มที่มีความไม่เพียงพอของ การล้างไต พบร้อยละ 93.6 และภาวะแทรกซ้อนที่มีความชุกสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ ปัญหาความผิดปกติของ กระดูก พบร้อยละ 91.2 ความไม่สมดุลของเกลือแร่ พบร้อยละ 89.8 และภาวะซีด พบร้อยละ 87.8 ตามลาดับ ผล การวิเคราะห์พหุระดับพบว่า ปัจจัยรูปแบบการบริการโดยการพยาบาลล้างไตทางช่องท้อง (=-1.045, p<.01) ใน ระดับสถานบริการ ร่วมกับปัจจัยระดับผู้ป่วยได้แก่ ภาวะโรคร่วม (=.325, p<.01) ความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน (=-.045, p<.01) และการจัดการดูแลตนเองในการล้างไตทางช่องท้อง (=-.038, p<.01) สามารถทานายภาวะแทรกซ้อนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่ปัจจัยรูปแบบการบริการโดยการพยาบาลล้างไต ทางช่องท้องสามารถอธิบายความแปรปรวนในภาวะแทรกซ้อนได้ร้อยละ 48.7 และกลุ่มปัจจัยระดับผู้ป่วยสามารถ อธิบายความแปรปรวนในภาวะแทรกซ้อนได้ร้อยละ 19.8 การศึกษาครั้งนี้พบว่าปัจจัยระดับสถานบริการไม่มี อิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับผู้ป่วยกับภาวะแทรกซ้อน (all p>.05) ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นความสำคัญของปัจจัยในระดับสถานบริการที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ ระบบบริการล้างไตทางช่องท้อง ดังนั้น สถานบริการจึงควรประยุกต์ใช้รูปแบบการพยาบาลล้างไตทางช่องท้องใน การให้บริการสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยกลุ่มนี้ ซึ่งจะมีส่วนช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้ดีขึ้น ส่วนปัจจัยในระดับผู้ป่วยควร ได้รับการประเมินและจัดการให้ผู้ป่วยมีความพร้อมตั้งแต่ระยะก่อนรับการรักษา นอกจากนี้ พยาบาลควรมุ่งเน้น การค้นหาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในผู้ป่วยกลุ่มนี้ 2023-09-05T02:21:38Z 2023-09-05T02:21:38Z 2012 2012 2023 Thesis (Ph.D. (Nursing))--Mahidol University, 2012 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/89351 eng Mahidol University x,148 leaves application/pdf Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language English
topic Peritoneal Dialysis
Multilevel Analysis
Health Services
spellingShingle Peritoneal Dialysis
Multilevel Analysis
Health Services
Rotsukon Varitsakul
The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach
description การศึกษาเชิงบรรยายภาคตัดขวางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของปัจจัยระดับสถานบริการ และระดับผู้ป่วยต่อภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง สุ่มตัวอย่างผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง 500 รายและ พยาบาลล้างไตทางช่องท้อง 38 รายจากสถานบริการล้างไตทางช่องท้องจำนวน 27 แห่ง ระหว่างเดือนมิถุนายน 2553 ถึงเดือนตุลาคม 2554 ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน และใช้การวิเคราะห์พหุระดับ ผลการศึกษาพบว่า ภาวะแทรกซ้อนรายกลุ่มที่มีความชุกสูงมาก คือ กลุ่มภาวะแทรกซ้อนจากไตวายเรื้อรัง พบร้อยละ 99.2 กลุ่มภาวะแทรกซ้อนจากการล้างไต พบร้อยละ 95.8 และกลุ่มที่มีความไม่เพียงพอของ การล้างไต พบร้อยละ 93.6 และภาวะแทรกซ้อนที่มีความชุกสูงสุด 3 อันดับแรกได้แก่ ปัญหาความผิดปกติของ กระดูก พบร้อยละ 91.2 ความไม่สมดุลของเกลือแร่ พบร้อยละ 89.8 และภาวะซีด พบร้อยละ 87.8 ตามลาดับ ผล การวิเคราะห์พหุระดับพบว่า ปัจจัยรูปแบบการบริการโดยการพยาบาลล้างไตทางช่องท้อง (=-1.045, p<.01) ใน ระดับสถานบริการ ร่วมกับปัจจัยระดับผู้ป่วยได้แก่ ภาวะโรคร่วม (=.325, p<.01) ความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวัน (=-.045, p<.01) และการจัดการดูแลตนเองในการล้างไตทางช่องท้อง (=-.038, p<.01) สามารถทานายภาวะแทรกซ้อนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่ปัจจัยรูปแบบการบริการโดยการพยาบาลล้างไต ทางช่องท้องสามารถอธิบายความแปรปรวนในภาวะแทรกซ้อนได้ร้อยละ 48.7 และกลุ่มปัจจัยระดับผู้ป่วยสามารถ อธิบายความแปรปรวนในภาวะแทรกซ้อนได้ร้อยละ 19.8 การศึกษาครั้งนี้พบว่าปัจจัยระดับสถานบริการไม่มี อิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับผู้ป่วยกับภาวะแทรกซ้อน (all p>.05) ผลการศึกษานี้ชี้ให้เห็นความสำคัญของปัจจัยในระดับสถานบริการที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ ระบบบริการล้างไตทางช่องท้อง ดังนั้น สถานบริการจึงควรประยุกต์ใช้รูปแบบการพยาบาลล้างไตทางช่องท้องใน การให้บริการสุขภาพให้แก่ผู้ป่วยกลุ่มนี้ ซึ่งจะมีส่วนช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้ดีขึ้น ส่วนปัจจัยในระดับผู้ป่วยควร ได้รับการประเมินและจัดการให้ผู้ป่วยมีความพร้อมตั้งแต่ระยะก่อนรับการรักษา นอกจากนี้ พยาบาลควรมุ่งเน้น การค้นหาและป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่พบบ่อยในผู้ป่วยกลุ่มนี้
author2 Siriorn Sindhu
author_facet Siriorn Sindhu
Rotsukon Varitsakul
author Rotsukon Varitsakul
author_sort Rotsukon Varitsakul
title The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach
title_short The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach
title_full The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach
title_fullStr The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach
title_full_unstemmed The effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach
title_sort effectiveness of health service system of peritoneal dialysis patients : a multilevel approach
publisher Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
publishDate 2023
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/89351
_version_ 1781416688136224768