การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคม การจัดการการผลิตปาล์มน้ำมัน การซื้อขายผลผลิตปาล์มน้ำมัน และความคิดเห็นเกี่ยวกับการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร (2) เพื่อจำแนกและวิเคราะห์ระบบการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตร...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
2014
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/9196 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2010-9196 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2010-91962014-06-19T19:18:37Z การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ Economic Efficiency Analysis of Oil Palm Production in Aoluek District, Krabi Province พิทยาภินันท์, ปุรวิชญ์ สมบูรณ์สุข, บัญชา Faculty of Science (Molecular Biotechnology and Bioinformatics) คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจ การผลิตปาล์มน้ำมัน อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคม การจัดการการผลิตปาล์มน้ำมัน การซื้อขายผลผลิตปาล์มน้ำมัน และความคิดเห็นเกี่ยวกับการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร (2) เพื่อจำแนกและวิเคราะห์ระบบการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร (3) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดรายได้ของครัวเรือนเกษตรกร (4) เพื่อประมาณการฟังก์ชันการผลิตปาล์มน้ำมัน และวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิตในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร และ (5) เพื่อวัดประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมัน และวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้างจากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันจำนวน 150 ราย ซึ่งได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยพหุ และการวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุมาก มีรายได้ของครัวเรือนเฉลี่ย 525,303 บาทต่อปี พื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันเฉลี่ย 29.08 ไร่ และขายผลผลิตปาล์มน้ำมันที่ลานเทเอกชน ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกรมากที่สุดคือ ปาล์มน้ำมันให้ผลผลิตเร็วกว่ายางพารา วัตถุประสงค์หลักในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกร คือ เพื่อเป็นอาชีพที่สร้างรายได้หลักของครัวเรือน รูปแบบของระบบการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรในพื้นที่มีทั้งหมด 7 ระบบ คือ (1) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา (2) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน (3) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ผัก (4) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ผลไม้ (5) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา-ผัก (6) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา-ผลไม้ และ (7) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา-ผัก-ผลไม้ ปัจจัยกำหนดรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ตัวแปรระดับการศึกษาและพื้นที่ถือครอง ปัจจัยกำหนดผลผลิตปาล์มน้ำมันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ตัวแปรพื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันและแรงงานคนที่ใช้ในการผลิตปาล์มน้ำมัน เกษตรกรมีการใช้พื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันและแรงงานคนในระดับต่ำกว่าระดับที่เหมาะสม ในขณะที่การใช้ปุ๋ยเคมีสูงกว่าระดับที่เหมาะสม เกษตรกรมีประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมันอยู่ในช่วงร้อยละ 78-99 และมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 95 ปัจจัยกำหนดประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ตัวแปรประสบการณ์ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกร การรวมกลุ่มเพื่อต่อรองราคาของเกษตรกร การเยี่ยมเยียนของนักวิชาการและ/หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการ ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน และแหล่งที่มาของกล้าปาล์มน้ำมัน 2014-06-19T10:16:48Z 2014-06-19T10:16:48Z 2014-06-19 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/9196 th application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
country |
Thailand |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจ การผลิตปาล์มน้ำมัน อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
spellingShingle |
ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจ การผลิตปาล์มน้ำมัน อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ พิทยาภินันท์, ปุรวิชญ์ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
description |
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐสังคม การจัดการการผลิตปาล์มน้ำมัน การซื้อขายผลผลิตปาล์มน้ำมัน และความคิดเห็นเกี่ยวกับการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร (2) เพื่อจำแนกและวิเคราะห์ระบบการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร (3) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดรายได้ของครัวเรือนเกษตรกร (4) เพื่อประมาณการฟังก์ชันการผลิตปาล์มน้ำมัน และวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยการผลิตในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร และ (5) เพื่อวัดประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมัน และวิเคราะห์ปัจจัยกำหนดประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกร โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงโครงสร้างจากกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันจำนวน 150 ราย ซึ่งได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์การถดถอยพหุ และการวิเคราะห์เส้นพรมแดนเชิงเฟ้นสุ่ม
เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชายอายุมาก มีรายได้ของครัวเรือนเฉลี่ย 525,303 บาทต่อปี พื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันเฉลี่ย 29.08 ไร่ และขายผลผลิตปาล์มน้ำมันที่ลานเทเอกชน ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกปาล์มน้ำมันของเกษตรกรมากที่สุดคือ ปาล์มน้ำมันให้ผลผลิตเร็วกว่ายางพารา วัตถุประสงค์หลักในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกร คือ เพื่อเป็นอาชีพที่สร้างรายได้หลักของครัวเรือน รูปแบบของระบบการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรในพื้นที่มีทั้งหมด 7 ระบบ คือ (1) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา (2) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน (3) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ผัก (4) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ผลไม้ (5) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา-ผัก (6) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา-ผลไม้ และ (7) ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน-ยางพารา-ผัก-ผลไม้
ปัจจัยกำหนดรายได้ของครัวเรือนเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ตัวแปรระดับการศึกษาและพื้นที่ถือครอง ปัจจัยกำหนดผลผลิตปาล์มน้ำมันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ตัวแปรพื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันและแรงงานคนที่ใช้ในการผลิตปาล์มน้ำมัน เกษตรกรมีการใช้พื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ำมันและแรงงานคนในระดับต่ำกว่าระดับที่เหมาะสม ในขณะที่การใช้ปุ๋ยเคมีสูงกว่าระดับที่เหมาะสม
เกษตรกรมีประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมันอยู่ในช่วงร้อยละ 78-99 และมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 95 ปัจจัยกำหนดประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจในการผลิตปาล์มน้ำมันของเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ตัวแปรประสบการณ์ในการทำสวนปาล์มน้ำมันของเกษตรกร การรวมกลุ่มเพื่อต่อรองราคาของเกษตรกร การเยี่ยมเยียนของนักวิชาการและ/หรือเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานราชการ ระบบการผลิตปาล์มน้ำมัน และแหล่งที่มาของกล้าปาล์มน้ำมัน |
author2 |
สมบูรณ์สุข, บัญชา |
author_facet |
สมบูรณ์สุข, บัญชา พิทยาภินันท์, ปุรวิชญ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
พิทยาภินันท์, ปุรวิชญ์ |
author_sort |
พิทยาภินันท์, ปุรวิชญ์ |
title |
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
title_short |
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
title_full |
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
title_fullStr |
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
title_sort |
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพเชิงเศรษฐกิจของการผลิตปาล์มน้ำมันในอำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ |
publishDate |
2014 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/9196 |
_version_ |
1681496434671616000 |