การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(ภาษาไทย))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กูโน ซอฟูวะห์
Other Authors: อุทัย รุสลัน
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2019
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12147
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-12147
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ภาษามลายูถิ่น
spellingShingle สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ภาษามลายูถิ่น
กูโน ซอฟูวะห์
การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(ภาษาไทย))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
author2 อุทัย รุสลัน
author_facet อุทัย รุสลัน
กูโน ซอฟูวะห์
format Theses and Dissertations
author กูโน ซอฟูวะห์
author_sort กูโน ซอฟูวะห์
title การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_short การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_full การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_fullStr การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_full_unstemmed การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
title_sort การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
publishDate 2019
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12147
_version_ 1695734296013176832
spelling th-psu.2016-121472021-01-12T02:24:02Z การเปรียบเทียบลักษณะทางกลสัทศาสตร์ของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียง โดยผู้พูดภาษาไทยกับผู้พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ A Comparsionof Thai Tones Acoustic Features Produced by Thai Speakers and Pattani MalaySpeakersin 3 Southern Border Provinces of Thailand กูโน ซอฟูวะห์ อุทัย รุสลัน Faculty of Humanities and Social Sciences (Thai) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ภาษามลายูถิ่น วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(ภาษาไทย))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยทางกลสัทศาสตร์ในประเด็นค่าความถี่มูลฐาน พิสัยค่าความถี่มูลฐาน และค่าระยะเวลา โดยผู้วิจัยได้คัดเลือกผู้บอกภาษาเพศหญิงที่พูดภาษาไทยเป็นภาษาแม่ (กลุ่มไทย) และผู้บอกภาษาเพศหญิงที่พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีเป็นภาษาแม่ซึ่งแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้บอกภาษาเป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการพูดภาษาไทยสำเนียงไทย และกลุ่มผู้บอกภาษาเป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการพูดภาษาไทยสำเนียงมลายู ผู้บอกภาษาทั้งสามกลุ่มกำลังศึกษาในระดับมัธยมตอนปลายใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) ผู้วิจัยเก็บข้อมูลเสียงวรรณยุกต์โดยใช้รายการคำทดสอบ 15 คำ จากนั้นบันทึกเสียงลงในคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม Cool Edit Pro และนำเสียงวรรณยุกต์มาวิเคราะห์หาค่าความถี่มูลฐาน พิสัยค่าความถี่มูลฐาน และค่าระยะเวลา โดยใช้โปรแกรม Praat รวมทั้งหาค่าสถิติเพื่อหาความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ระหว่างผู้บอกภาษาที่พูดภาษาไทยเป็นภาษาแม่กับผู้บอกภาษาที่พูดภาษามลายูถิ่นปัตตานีเป็นภาษาแม่ ผลการศึกษาพบว่า ค่าความถี่มูลฐานของเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยที่ออกเสียงโดยกลุ่มไทยกับกลุ่มที่ 1 สัทลักษณะของเสียงวรรณยุกต์ในวรรณยุกต์สามัญ เอก และโท แตกต่างกันค่อนข้างมาก ในขณะที่วรรณยุกต์ตรีและจัตวาค่อนข้างคล้ายคลึงกัน โดยค่าความถี่มูลฐานของวรรณยุกต์ตรีในกลุ่มที่ 1 กับกลุ่มไทยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญใน 2 ตำแหน่ง และค่าความถี่มูลฐานของวรรณยุกต์จัตวาในกลุ่มที่ 1 กับกลุ่มไทยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญใน 3 ตำแหน่ง ต่อมากลุ่มที่ 2 มีค่าความถี่มูลฐานที่แตกต่างจากกลุ่มไทยค่อนข้างมากในทุกวรรณยุกต์ และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญในทุกวรรณยุกต์ ประเด็นค่าพิสัย พบว่า ผู้บอกภาษากลุ่มที่ 1 และ 2 ออกเสียงวรรณยุกต์ภาษาไทยด้วยพิสัยแคบและแตกต่างกับกลุ่มไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทุกวรรณยุกต์ ผู้วิจัยคาดว่าเกิดขึ้นจากอิทธิพลของภาษาแม่ (ภาษามลายูถิ่นปัตตานี) และในประเด็นค่าระยะเวลา ผู้บอกภาษากลุ่มที่ 1 และ 2 ออกเสียงวรรณยุกต์มีค่าระยะเวลามากกว่ากลุ่มไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในทุกวรรณยุกต์ ผู้วิจัยคาดว่าเกิดขึ้นจากการแก้ไขเกินเหตุ (hyper correction) This study compares acoustic phonetic tones in the language in terms of fundamental frequency, range of fundamental frequency and duration. The informants were divided into three groups including female informants who speak Thai as mother tongue (Thai Group), and two groups of informants who speak local Malay as their mother tongue namely those who can speak standard Thai (Group 1) and those who speak Thai with Malay accent (Group 2), all of whom were from local high schools in the three southern border provinces of Pattani, Yala and Narathiwat. They were asked to pronounce 15 selected words recorded using Cool Edit Pro application and tones were analyzed for fundamental frequencies, range of fundamental frequencies and duration using Praat application also to determine statistically significant differences between the Thai native speakers and Malay native speakers. It was found that the characteristics of mid, low and falling tones pronounced by Thai Group and the Malay Group that spoke standard Thai were obviously different while their high and rising tones were similar. The fundamental frequencies of high tone pronounced by Group 1 and Thai Group differed significantly in two positions and the fundamental frequencies of rising tone by Group 1 and Thai Group differed significantly in three positions. In the meantime, Group 2 produced every tone with significant differences from Thai Group. As for range of fundamental frequencies, the informants of Group 1 and Group 2 pronounced every tone in a narrow range and with significant differences from Thai Group. This is believed to have been affected by their mother tongue (local Malay). Regarding duration, the informants of Group 1 and Group 2 took significantly longer duration than Thai Group in every tone arguably because of hyper correction 2019-03-20T04:07:29Z 2019-03-20T04:07:29Z 2561 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12147 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี