การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว

เฟิร์น Cyclosorus terminans (วงศ์ Thelypteridaceae) เป็นพืชชั้นต่ำที่พบได้ทั่วไปในเขตร้อนชื้น โดยเฉพาะภาคใต้ของประเทศไทย ยอดอ่อนสามารถรับประทานเป็นอาหารได้และเป็นสมุนไพรมีศักยภาพใน การพัฒนาเป็นยาต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเบาหวานและความอ้วนเนื่องจากมีสารออกฤทธิ์อินเตอร์รับตินเอ และบีงานวิจัยนี้จึงมีวัตถ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สิรีวรรณ วิริยกุลโอภาศ, ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์
Other Authors: Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2021
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13382
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-13382
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic เฟิน สารสกัด
สารสกัดจากพืช
spellingShingle เฟิน สารสกัด
สารสกัดจากพืช
สิรีวรรณ วิริยกุลโอภาศ
ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์
การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว
description เฟิร์น Cyclosorus terminans (วงศ์ Thelypteridaceae) เป็นพืชชั้นต่ำที่พบได้ทั่วไปในเขตร้อนชื้น โดยเฉพาะภาคใต้ของประเทศไทย ยอดอ่อนสามารถรับประทานเป็นอาหารได้และเป็นสมุนไพรมีศักยภาพใน การพัฒนาเป็นยาต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเบาหวานและความอ้วนเนื่องจากมีสารออกฤทธิ์อินเตอร์รับตินเอ และบีงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาวิธีการเตรียมสารสกัดเฟิร์น C. terminans ที่มีสารกลุ่ม อินเตอร์รับตินในปริมาณสูงและมีความคงตัว โดยศึกษาเปรียบเทียบผลการสกัดสารอินเตอร์รับตินด้วย ตัวทำละลาย 3 ชนิด ได้แก่ เอทานอล 95% ไอโซโพรพานอล และเอธิลอะซิเตท และใช้วิธีการสกัด 4 วิธี ได้แก่ การแช่หมักโดยใช้เครื่องเขย่า การแช่หมักโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูง การแช่หมักโดยคลื่น ไมโครเวฟ และการสกัดแบบไหลย้อนกลับ จากการศึกษาพบว่าการสกัดด้วยตัวทำละลายเอธิลอะซิเตทโดยวิธีสกัดแบบไหลย้อนกลับให้ปริมาณสารอินเตอร์รับตินรวม (เอ บี และซี) สูงสุดเท่ากับ 0.21 %w/w ของน้ำหนัก ผงยาเริ่มต้น นอกจากนี้การใช้ตัวทำละลายไอโซโพรพานอลในการสกัดโดยโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูง ยังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการสกัดสารกลุ่มอินเตอร์รับตินเอ บี และซีจากเฟิร์น C. terminans เนื่องจาก ให้ปริมาณสารอินเตอร์รับตินรวม (เอ บี และซี) (0.15 %w/w) ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการใช้ เอธิลอะซิเตท (0.14 %w/w) ในวิธีการสกัดเดียวกันและวิธีการหมักโดยใช้เครื่องเขย่า (0.16 %w/w) อย่างไรก็ตามการใช้ตัวทำละลายเอทานอล 95% แม้ว่าจะให้ปริมาณสารสกัดสูงกว่าการสกัดด้วยไอโซโพรพานอล และเอธิลอะซิเตท แต่การสกัดด้วย เอทานอล 95% สกัดได้เพียงอินเตอร์รับตินซีเท่านั้น ไม่สามารถสกัด อินเตอร์รับตินเอและบีได้ สารสกัดเฟิร์นที่สกัดด้วยตัวทำละลายเอธิลอะซิเตทโดยวิธีสกัดแบบไหลย้อนกลับ และสารสกัดเฟิร์นที่สกัดด้วยตัวทำละลายไอโซโพรพานอลโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูงมีความคงตัวทางกายภาพและเคมีดี เมื่อเก็บในภาชนะปิดสนิทและป้องกันแสงที่อุณหภูมิต่าง ๆ ได้แก่ ในที่เย็น (4°C) อุณหภูมิห้อง (30°C) และในสภาวะเร่ง (45°C) รวมทั้งวางไว้ในที่มีแสงในอุณหภูมิห้อง (30°C) เป็นเวลานาน 3 เดือน และมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ แบคทีเรียกรัมบวกชนิด MSSA และ MRSA ได้โดยมีค่า MIC เท่ากับ 16-64 μg/ml โดยสารสกัดเฟิร์นที่สกัด ด้วยตัวทำละลายเอธิลอะซิเตทโดยวิธีสกัดแบบไหลย้อนกลับ มีฤทธิ์ดีกว่าสารสกัดเฟิร์นที่สกัดด้วยตัวทำละลาย ไอโซโพรพานอลโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูงประมาณ 2 เท่า ดังนั้นการพัฒนาวิธีการเตรียมสารสกัดเฟิร์น C. terminans ที่มีสารกลุ่มอินเตอร์รับตินในปริมาณสูงและมีความคงตัวดังกล่าวจึงมีศักยภาพในการนำไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางเวชสำอาง อาหารเสริมสุขภาพและยาในอนาคต
author2 Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
author_facet Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany)
สิรีวรรณ วิริยกุลโอภาศ
ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์
format Technical Report
author สิรีวรรณ วิริยกุลโอภาศ
ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์
author_sort สิรีวรรณ วิริยกุลโอภาศ
title การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว
title_short การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว
title_full การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว
title_fullStr การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว
title_full_unstemmed การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว
title_sort การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2021
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13382
_version_ 1695734281899343872
spelling th-psu.2016-133822021-03-02T04:53:08Z การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว Development of preparation process for interruptins A and B-rich fern (Cyclosorus terminans) extract and its stability รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การพัฒนาวิธีเตรียมสารสกัดเฟิร์น (Cyclosorus terminans) ที่มีอินเตอร์รับตินเอและบีในปริมาณสูงและมีความคงตัว สิรีวรรณ วิริยกุลโอภาศ ภาณุพงศ์ พุทธรักษ์ Faculty of Pharmaceutical Sciences (Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany) คณะเภสัชศาสตร์ ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ เฟิน สารสกัด สารสกัดจากพืช เฟิร์น Cyclosorus terminans (วงศ์ Thelypteridaceae) เป็นพืชชั้นต่ำที่พบได้ทั่วไปในเขตร้อนชื้น โดยเฉพาะภาคใต้ของประเทศไทย ยอดอ่อนสามารถรับประทานเป็นอาหารได้และเป็นสมุนไพรมีศักยภาพใน การพัฒนาเป็นยาต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเบาหวานและความอ้วนเนื่องจากมีสารออกฤทธิ์อินเตอร์รับตินเอ และบีงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาวิธีการเตรียมสารสกัดเฟิร์น C. terminans ที่มีสารกลุ่ม อินเตอร์รับตินในปริมาณสูงและมีความคงตัว โดยศึกษาเปรียบเทียบผลการสกัดสารอินเตอร์รับตินด้วย ตัวทำละลาย 3 ชนิด ได้แก่ เอทานอล 95% ไอโซโพรพานอล และเอธิลอะซิเตท และใช้วิธีการสกัด 4 วิธี ได้แก่ การแช่หมักโดยใช้เครื่องเขย่า การแช่หมักโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูง การแช่หมักโดยคลื่น ไมโครเวฟ และการสกัดแบบไหลย้อนกลับ จากการศึกษาพบว่าการสกัดด้วยตัวทำละลายเอธิลอะซิเตทโดยวิธีสกัดแบบไหลย้อนกลับให้ปริมาณสารอินเตอร์รับตินรวม (เอ บี และซี) สูงสุดเท่ากับ 0.21 %w/w ของน้ำหนัก ผงยาเริ่มต้น นอกจากนี้การใช้ตัวทำละลายไอโซโพรพานอลในการสกัดโดยโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูง ยังเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการสกัดสารกลุ่มอินเตอร์รับตินเอ บี และซีจากเฟิร์น C. terminans เนื่องจาก ให้ปริมาณสารอินเตอร์รับตินรวม (เอ บี และซี) (0.15 %w/w) ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการใช้ เอธิลอะซิเตท (0.14 %w/w) ในวิธีการสกัดเดียวกันและวิธีการหมักโดยใช้เครื่องเขย่า (0.16 %w/w) อย่างไรก็ตามการใช้ตัวทำละลายเอทานอล 95% แม้ว่าจะให้ปริมาณสารสกัดสูงกว่าการสกัดด้วยไอโซโพรพานอล และเอธิลอะซิเตท แต่การสกัดด้วย เอทานอล 95% สกัดได้เพียงอินเตอร์รับตินซีเท่านั้น ไม่สามารถสกัด อินเตอร์รับตินเอและบีได้ สารสกัดเฟิร์นที่สกัดด้วยตัวทำละลายเอธิลอะซิเตทโดยวิธีสกัดแบบไหลย้อนกลับ และสารสกัดเฟิร์นที่สกัดด้วยตัวทำละลายไอโซโพรพานอลโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูงมีความคงตัวทางกายภาพและเคมีดี เมื่อเก็บในภาชนะปิดสนิทและป้องกันแสงที่อุณหภูมิต่าง ๆ ได้แก่ ในที่เย็น (4°C) อุณหภูมิห้อง (30°C) และในสภาวะเร่ง (45°C) รวมทั้งวางไว้ในที่มีแสงในอุณหภูมิห้อง (30°C) เป็นเวลานาน 3 เดือน และมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ แบคทีเรียกรัมบวกชนิด MSSA และ MRSA ได้โดยมีค่า MIC เท่ากับ 16-64 μg/ml โดยสารสกัดเฟิร์นที่สกัด ด้วยตัวทำละลายเอธิลอะซิเตทโดยวิธีสกัดแบบไหลย้อนกลับ มีฤทธิ์ดีกว่าสารสกัดเฟิร์นที่สกัดด้วยตัวทำละลาย ไอโซโพรพานอลโดยใช้เครื่องเขย่าด้วยคลื่นความถี่สูงประมาณ 2 เท่า ดังนั้นการพัฒนาวิธีการเตรียมสารสกัดเฟิร์น C. terminans ที่มีสารกลุ่มอินเตอร์รับตินในปริมาณสูงและมีความคงตัวดังกล่าวจึงมีศักยภาพในการนำไปประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางเวชสำอาง อาหารเสริมสุขภาพและยาในอนาคต The fern Cyclosorus terminans (Thelypteridaceae) is a lower plant commonly found in tropical area espically in southern Thailand. It can be eaten as vegetable and also is a potential medicinal plant for antibiotic, antidiabetic, and antiobesity drug development due to active interrupins A and B. Therefore, this research work aims to develop the preparation process for interruptins-rich fern (C. terminans) extract with suitable stability. Comparison study of interruptin extraction by three solvents including 95% EtOH, isopropanol, and EtOAc and four extraction methods including maceration, ultrasound assisted extraction, microwave-assisted extraction, reflux extraction was performed. It was found that using EtOAc with reflux extraction exhibited highest total interruptins (A, B, and C) as 0.21 %w/w of plant powder. Nevertheless, using isopropanol with ultrasound-assisted extraction was an alternative process for interruptins A-C extraction from C. terminans, since it provided total interruptins (A-C) (0.15 %w/w) no significant different from using EtOAc (0.14 %w/w) when extraction by the same process or maceration (0.16 %w/w). However, using 95% EtOH even gave higher extract yield than using isopropanol and EtOAc, whereas it can only extract interruptin C, not interruptins A and B. The extracts prepared by EtOAc with reflux extraction and by isopropanol with ultrasound-assisted extraction revealed appropriate physical and chemical stability when kept in the dark at various temperatures (4, 30, and 45°C) as well as in the light at 30°C over 3 months. They also demonstrated antibacterial activity against gram positive bacteria MSSA and MRSA with MICs of 16-64 μg/ml). The extracts prepared by EtOAc with reflux extraction showed 2 times better antibacterial activity than the extracts prepared by isopropanol with ultrasound-assisted extraction. Therefore, development of preparation process for interruptins-rich fern (C. terminans) extract with suitable stability has potential application for cosmeceutical, supplement and drug development in the future. 2021-03-02T04:53:08Z 2021-03-02T04:53:08Z 2556 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13382 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์