โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557
จากนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศเน้นการส่งเสริมการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำเพื่อให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก ตลอดจนสถานการณ์การผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ เช่น พืชผัก ไม้ผล ส่วนใหญ่เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่รัฐบาลจัดให้อยู่ในกลุ่มสินค้าเพื่อการส่งออก ไม่ว่าจะรูปผลผลิตสดและแปรรูป การส่งเส...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Format: | Other |
Language: | th_TH |
Published: |
สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15217 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15217 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-152172021-05-17T11:22:31Z โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 ชูชีพ, วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู สุพร, เจือกโว้น ความไม่มั่นคงทางอาหาร จากนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศเน้นการส่งเสริมการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำเพื่อให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก ตลอดจนสถานการณ์การผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ เช่น พืชผัก ไม้ผล ส่วนใหญ่เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่รัฐบาลจัดให้อยู่ในกลุ่มสินค้าเพื่อการส่งออก ไม่ว่าจะรูปผลผลิตสดและแปรรูป การส่งเสริมการผลิตพืชสำคัญดังกล่าวยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการผลิตและการตลาด ถึงแม้รัฐบาลจะพยายามแก้ไขปัญหา แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากประสบปัญหาความซับซ้อนและเกี่ยวเนื่องกันระหว่างระบบการผลิตการตลาด ตลอดจนการบริหารจัดการ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าการผลิตพืชเศรษฐกิจของไทยโดยเฉพาะไม้ผลประสบปัญหาผลผลิตในฤดูออกมาพร้อมกัน ในช่วงเวลาสั้นๆ ส่งผลให้ราคาตกต่ำและเป็นปัญหามาโดยตลอด รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณจ้านวนมาก ในการใช้มาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะมาตรการเร่งรัดกระจายผลผลิตภายในประเทศ โดยการรวบรวมผลผลิต และขนส่งออกนอกแหล่งผลิตโดยเร็วในช่วงผลผลิตกระจุกตัว ซึ่งมักเกิดความเน่าเสีย ในระหว่างการขนส่ง และคุณภาพตกต่ำ ปัญหาที่สำคัญในการผลิตพืชเศรษฐกิจ คือ ผลผลิตคุณภาพดีมีน้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ผลผลิตสูญเสียง่ายในระหว่างการขนส่ง ส่งผลให้ราคาตกต่ำ ขาดห้องเย็นสำหรับเก็บรักษาเพื่อยืดอายุผลผลิต ก่อให้เกิดปัญหาด้านการส่งออก เกษตรกรยังขาดข้อมูลข่าวสารต่างๆ รวมทั้ง การขาดระบบการจัดการด้านโลจิสติกส์ ซึ่งปัญหาการจัดการโลจิสติกส์สินค้าเกษตรของประเทศไทย เกษตรกรไทยซึ่งคิดเป็นร้อยละ 61 ของประชากรในประเทศจึงอยู่ในสภาวะยังพึ่งพาตัวเองไม่ได้ ระดับ การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทยยังมีน้อย ดังนั้น กรมส่งเสริมการเกษตรในฐานะที่เป็นองค์กรที่มีภารกิจด้านการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก โดยเน้นการส่งเสริมและพัฒนา 2015-10-09T02:14:36Z 2021-05-17T11:22:31Z 2015-10-09T02:14:36Z 2021-05-17T11:22:31Z 2557 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15217 th_TH application/msword สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร |
spellingShingle |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร ชูชีพ, วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู สุพร, เจือกโว้น โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
description |
จากนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศเน้นการส่งเสริมการผลิตตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำเพื่อให้ประเทศไทยเป็นครัวของโลก ตลอดจนสถานการณ์การผลิตพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ เช่น พืชผัก ไม้ผล ส่วนใหญ่เป็นพืชเศรษฐกิจสำคัญที่รัฐบาลจัดให้อยู่ในกลุ่มสินค้าเพื่อการส่งออก ไม่ว่าจะรูปผลผลิตสดและแปรรูป การส่งเสริมการผลิตพืชสำคัญดังกล่าวยังคงมีปัญหาอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านการผลิตและการตลาด ถึงแม้รัฐบาลจะพยายามแก้ไขปัญหา แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากประสบปัญหาความซับซ้อนและเกี่ยวเนื่องกันระหว่างระบบการผลิตการตลาด ตลอดจนการบริหารจัดการ ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าการผลิตพืชเศรษฐกิจของไทยโดยเฉพาะไม้ผลประสบปัญหาผลผลิตในฤดูออกมาพร้อมกัน ในช่วงเวลาสั้นๆ ส่งผลให้ราคาตกต่ำและเป็นปัญหามาโดยตลอด รัฐบาลต้องสูญเสียงบประมาณจ้านวนมาก ในการใช้มาตรการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหา โดยเฉพาะมาตรการเร่งรัดกระจายผลผลิตภายในประเทศ โดยการรวบรวมผลผลิต และขนส่งออกนอกแหล่งผลิตโดยเร็วในช่วงผลผลิตกระจุกตัว ซึ่งมักเกิดความเน่าเสีย ในระหว่างการขนส่ง และคุณภาพตกต่ำ
ปัญหาที่สำคัญในการผลิตพืชเศรษฐกิจ คือ ผลผลิตคุณภาพดีมีน้อยไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ผลผลิตสูญเสียง่ายในระหว่างการขนส่ง ส่งผลให้ราคาตกต่ำ ขาดห้องเย็นสำหรับเก็บรักษาเพื่อยืดอายุผลผลิต ก่อให้เกิดปัญหาด้านการส่งออก เกษตรกรยังขาดข้อมูลข่าวสารต่างๆ รวมทั้ง การขาดระบบการจัดการด้านโลจิสติกส์ ซึ่งปัญหาการจัดการโลจิสติกส์สินค้าเกษตรของประเทศไทย เกษตรกรไทยซึ่งคิดเป็นร้อยละ 61 ของประชากรในประเทศจึงอยู่ในสภาวะยังพึ่งพาตัวเองไม่ได้ ระดับ การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทยยังมีน้อย ดังนั้น กรมส่งเสริมการเกษตรในฐานะที่เป็นองค์กรที่มีภารกิจด้านการบริหารจัดการสินค้าเกษตร ให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก โดยเน้นการส่งเสริมและพัฒนา |
format |
Other |
author |
ชูชีพ, วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู สุพร, เจือกโว้น |
author_facet |
ชูชีพ, วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู สุพร, เจือกโว้น |
author_sort |
ชูชีพ, วรรธนะเพียร |
title |
โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_short |
โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_full |
โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_fullStr |
โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_full_unstemmed |
โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_sort |
โครงการจัดกระบวนการตลาดสินค้าเกษตรและโลจิสติกส์ จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
publisher |
สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15217 |
_version_ |
1703979337296904192 |