การพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสับปะรดเพื่อการบริโภคสดภาคใต้ตอนล่าง

นโยบายปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรของประเทศ กำหนดให้สับปะรดเป็นพืชที่มีศักยภาพสูงตาม ยุทธศาสตร์การผลิตเพื่อการส่งออก และในเวทีการค้าโลกประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกสับปะรดราย ใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของโลกมามากกว่า 10 ปี และยังมีแนวโน้มการเติบโตทางการค้าเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ อย่างไรก็ ตามเมื่อมีการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สำราญ, สะรุโณ, ไพโรจน์, สุวรรณจินดา, สุภาค, รัตนสุภา, อริยธัช, เสนเกตุ, สุนันท์, ถีราวุธ, ปัทมา, พรหมสังคหะ, สัมพันธ์, เกตุชู, สุมณฑา, ชะเลิศเพ็ชร, พันธ์ศักดิ์, อินทรวงค์, อำพา, ขำประเสริฐ, ศุกร์, เก็บไว้, นลินี, จาริกภากร, ศริณนา, ชูธรรมธัช, อุดร, เจริญแสง
Format: Technical Report
Language:th_TH
Published: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15623
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
Description
Summary:นโยบายปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรของประเทศ กำหนดให้สับปะรดเป็นพืชที่มีศักยภาพสูงตาม ยุทธศาสตร์การผลิตเพื่อการส่งออก และในเวทีการค้าโลกประเทศไทยเป็นประเทศผู้ผลิตและส่งออกสับปะรดราย ใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของโลกมามากกว่า 10 ปี และยังมีแนวโน้มการเติบโตทางการค้าเพิ่มขึ้นเป็นลำดับ อย่างไรก็ ตามเมื่อมีการศึกษาในรายละเอียดเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการผลิตสับปะรด พบว่าในระบบอุตสาหกรรมการแปรรูป ยัง มีปัญหาสำคัญเกิดขึ้นหลายประการ ทั้งในห่วงโซ่การผลิตที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ ทั้งในเรื่องวัตถุดิบ ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตของเกษตรกร การผลิตในอุตสาหกรรมสับปะรด การค้าในประเทศ การค้า ต่างประเทศ และการสนับสนุนจากภาครัฐ แต่ในระบบการผลิตที่เกี่ยวกับการผลิตสับปะรดบริโภคผลสด กลับพบว่ายังมีโอกาสในการพัฒนาที่มี แนวโน้มที่ดีโดยเฉพาะในเรื่องของผลตอบแทนและรายได้ที่เกษตรกรได้รับ