แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการจัดระบบการผลิตพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง วิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ การจัดทำแปลงผลิตพืช การเคลื่อนไหวทางสังคม และการพัฒนาทุนทางสังคม ดำเนินการวิจัยในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ระหว่างปี2551-2553 ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบการผลิตพืชตามแนวเศร...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , , , , , , , |
---|---|
Format: | Technical Report |
Language: | th_TH |
Published: |
รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 8-10 สิงกาคม 2554 ณ โรงแรมตักสิลา มหาสารคาม
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15638 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15638 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-156382021-05-17T11:36:16Z แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย สำราญ, สะรุโณ ไพโรจน์, สุวรรณจินดา นลินี, จาริกภากร ปัทมา, พรหมสังคหะ สาริณีย์, จันทรัศมี ไพเราะ, เทพทอง มานิตย์, แสงทอง ชอ้อน, พรหมสังคหะ บุญรัตน์, เหมือนยอด อาอีฉ๊ะ, ใบละจิ เสาวภาค, รัตนสุภา อุไรวรรณ, สุกด้วง สมใจ, จีนชาวนา และเกียรติศักดิ์, ขุนไกร ความไม่มั่นคงทางอาหาร การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการจัดระบบการผลิตพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง วิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ การจัดทำแปลงผลิตพืช การเคลื่อนไหวทางสังคม และการพัฒนาทุนทางสังคม ดำเนินการวิจัยในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ระหว่างปี2551-2553 ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง คือการจัดกระบวนการผลิตพืชตามแนวทาง “4 เสาหลักสู่ความพอเพียง” ประกอบด้วย “หัวใจพอเพียง” สามารถสร้างความตั้งใจที่ใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาความเป็นเกษตรกรต้นแบบ “ภูมิปัญญาภิวัตน์พอเพียง” สามารถทดลองหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นหลายภูมิปัญญา เช่น การป้องกันกำจัดแมลงด้วยกับดักกาวเหนียว การใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกข้าว พืชไร่ ยางพารา และการปลูกพืชต่างระดับ 4 ชั้น “9 พืชผสมผสานพอเพียง” มีการปลูกพืช 9 กลุ่มพืช ได้แก่กลุ่มพืชรายได้พืชอาหาร พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ พืชสมุนไพรกำจัดศัตรูพืช พืชอาหารสัตว์ ไม้ใช้สอย พืชอนุรักษ์ดินและน้ำพืชอนุรักษ์พันธุ์กรรมและพืชพลังงาน เพิ่มขึ้น 36.3 ชนิด และ“การดำรงชีพพอเพียง” ทำให้มีคะแนนความพอเพียงเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับมาก ผลการพัฒนาทำให้เกษตรกรมีความพอเพียงสูงกว่าเพื่อนบ้านเกือบทุกรายการ และแนวทางดังกล่าวนี้ยังนำมาใช้ในการพัฒนาความคิดให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไป 2015-10-10T06:31:57Z 2021-05-17T11:36:15Z 2015-10-10T06:31:57Z 2021-05-17T11:36:15Z 2554 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15638 th_TH application/pdf รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 8-10 สิงกาคม 2554 ณ โรงแรมตักสิลา มหาสารคาม |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร |
spellingShingle |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร สำราญ, สะรุโณ ไพโรจน์, สุวรรณจินดา นลินี, จาริกภากร ปัทมา, พรหมสังคหะ สาริณีย์, จันทรัศมี ไพเราะ, เทพทอง มานิตย์, แสงทอง ชอ้อน, พรหมสังคหะ บุญรัตน์, เหมือนยอด อาอีฉ๊ะ, ใบละจิ เสาวภาค, รัตนสุภา อุไรวรรณ, สุกด้วง สมใจ, จีนชาวนา และเกียรติศักดิ์, ขุนไกร แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย |
description |
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบการจัดระบบการผลิตพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง วิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงสำรวจ การจัดทำแปลงผลิตพืช การเคลื่อนไหวทางสังคม และการพัฒนาทุนทางสังคม ดำเนินการวิจัยในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ระหว่างปี2551-2553 ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาระบบการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง คือการจัดกระบวนการผลิตพืชตามแนวทาง “4 เสาหลักสู่ความพอเพียง” ประกอบด้วย “หัวใจพอเพียง” สามารถสร้างความตั้งใจที่ใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนาความเป็นเกษตรกรต้นแบบ “ภูมิปัญญาภิวัตน์พอเพียง” สามารถทดลองหาเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับภูมิปัญญาท้องถิ่นหลายภูมิปัญญา เช่น การป้องกันกำจัดแมลงด้วยกับดักกาวเหนียว การใช้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ในการปลูกข้าว พืชไร่ ยางพารา และการปลูกพืชต่างระดับ 4 ชั้น “9 พืชผสมผสานพอเพียง” มีการปลูกพืช 9 กลุ่มพืช ได้แก่กลุ่มพืชรายได้พืชอาหาร พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ พืชสมุนไพรกำจัดศัตรูพืช พืชอาหารสัตว์ ไม้ใช้สอย พืชอนุรักษ์ดินและน้ำพืชอนุรักษ์พันธุ์กรรมและพืชพลังงาน เพิ่มขึ้น 36.3 ชนิด และ“การดำรงชีพพอเพียง” ทำให้มีคะแนนความพอเพียงเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับมาก ผลการพัฒนาทำให้เกษตรกรมีความพอเพียงสูงกว่าเพื่อนบ้านเกือบทุกรายการ และแนวทางดังกล่าวนี้ยังนำมาใช้ในการพัฒนาความคิดให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไป |
format |
Technical Report |
author |
สำราญ, สะรุโณ ไพโรจน์, สุวรรณจินดา นลินี, จาริกภากร ปัทมา, พรหมสังคหะ สาริณีย์, จันทรัศมี ไพเราะ, เทพทอง มานิตย์, แสงทอง ชอ้อน, พรหมสังคหะ บุญรัตน์, เหมือนยอด อาอีฉ๊ะ, ใบละจิ เสาวภาค, รัตนสุภา อุไรวรรณ, สุกด้วง สมใจ, จีนชาวนา และเกียรติศักดิ์, ขุนไกร |
author_facet |
สำราญ, สะรุโณ ไพโรจน์, สุวรรณจินดา นลินี, จาริกภากร ปัทมา, พรหมสังคหะ สาริณีย์, จันทรัศมี ไพเราะ, เทพทอง มานิตย์, แสงทอง ชอ้อน, พรหมสังคหะ บุญรัตน์, เหมือนยอด อาอีฉ๊ะ, ใบละจิ เสาวภาค, รัตนสุภา อุไรวรรณ, สุกด้วง สมใจ, จีนชาวนา และเกียรติศักดิ์, ขุนไกร |
author_sort |
สำราญ, สะรุโณ |
title |
แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย |
title_short |
แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย |
title_full |
แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย |
title_fullStr |
แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย |
title_full_unstemmed |
แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย |
title_sort |
แนวทางการพัฒนาการผลิตพืชตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรรายย่อย |
publisher |
รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 8-10 สิงกาคม 2554 ณ โรงแรมตักสิลา มหาสารคาม |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15638 |
_version_ |
1703979304688287744 |