การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา

จากผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา พบว่าคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก และจากการประเมินความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD Loading) ในปี 2547 พบว่ามีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ที่ไหลลงสู่ทะเลสาบสงขลาผ่านลำคลองสาขาในแต่ละ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15646
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15646
record_format dspace
spelling th-psu.2016-156462021-05-17T11:38:45Z การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 คุณภาพสิ่งแวดล้อม จากผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา พบว่าคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก และจากการประเมินความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD Loading) ในปี 2547 พบว่ามีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ที่ไหลลงสู่ทะเลสาบสงขลาผ่านลำคลองสาขาในแต่ละลุ่มน้ำย่อย มีมากถึงประมาณ 12,000 ตันต่อปี โดยพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยที่มีปริมาณความสกปรกมากที่สุด คือลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา มีปริมาณความสกปรกประมาณ 5,200 ตันต่อปี คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 43 ของปริมาณความสกปรกทั้งหมด แต่ ปัจจุบันยังไม่มีการบริหารจัดการเพื่อการรักษาและฟื้นฟู เนื่องจากข้อมูลเบื้องต้นที่สำคัญด้านการจัดการคุณภาพน้ำ โดยเฉพาะข้อมูลด้านความสกปรกจากแหล่งกำเนิดต้นทางของแต่ละชุมชน หรือแต่ละแหล่งของพื้นที่ลุ่มน้ำย่อย ยังไม่มีการศึกษาสำรวจหรือมีในวงจำกัด ทำให้การกำหนดแผนปฏิบัติการในการฟนื้ ฟูคุณภาพน้ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการพื้นฟูคุณภาพน้ำ ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เป็นไปในลักษณะต่างคนต่าง ทำ เนื่องจากไม่มีกรอบชี้นำหรือลำดับความสำคัญที่เหมาะสมกับสถานการณ์หรือพื้นที่วิกฤตที่จะต้องฟื้นฟูหรือพื้นที่ที่จะต้องป้องกันด้วยเหตุดังกล่าว กรมควบคุมมลพิษ จึงได้ร่วมกับ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 ดำเนินโครงการ “ประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพนํ้าพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา” โดยดำเนินการ (1) ประเมินปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดี ไนโตรเจน และฟอสเฟตในลำน้ำสายหลัก รวมทั้งอัตราการไหลของน้ำ (2) สำรวจสภาพทั่วไปของลำคลอง (3) สำรวจและวัดปริมาณน้ำเสียหรือน้ำทิ้งจากชุมชน รวมทั้งตรวจวัดความสกปรก และ (4) วิเคราะห์และเรียบเรียงเป็นแผนฟื้นฟูคุณภาพน้ำ โดยจัดลำดับพื้นที่ที่จะฟื้นฟู และกิจกรรมที่เหมาะสมที่จะดำเนินการ 2015-10-09T03:03:27Z 2021-05-17T11:38:44Z 2015-10-09T03:03:27Z 2021-05-17T11:38:44Z 2549-11 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15646 th_TH application/pdf สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic คุณภาพสิ่งแวดล้อม
spellingShingle คุณภาพสิ่งแวดล้อม
สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา
description จากผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา พบว่าคุณภาพน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก และจากการประเมินความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ (BOD Loading) ในปี 2547 พบว่ามีปริมาณความสกปรกในรูปสารอินทรีย์ที่ไหลลงสู่ทะเลสาบสงขลาผ่านลำคลองสาขาในแต่ละลุ่มน้ำย่อย มีมากถึงประมาณ 12,000 ตันต่อปี โดยพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยที่มีปริมาณความสกปรกมากที่สุด คือลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา มีปริมาณความสกปรกประมาณ 5,200 ตันต่อปี คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 43 ของปริมาณความสกปรกทั้งหมด แต่ ปัจจุบันยังไม่มีการบริหารจัดการเพื่อการรักษาและฟื้นฟู เนื่องจากข้อมูลเบื้องต้นที่สำคัญด้านการจัดการคุณภาพน้ำ โดยเฉพาะข้อมูลด้านความสกปรกจากแหล่งกำเนิดต้นทางของแต่ละชุมชน หรือแต่ละแหล่งของพื้นที่ลุ่มน้ำย่อย ยังไม่มีการศึกษาสำรวจหรือมีในวงจำกัด ทำให้การกำหนดแผนปฏิบัติการในการฟนื้ ฟูคุณภาพน้ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่ ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการพื้นฟูคุณภาพน้ำ ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เป็นไปในลักษณะต่างคนต่าง ทำ เนื่องจากไม่มีกรอบชี้นำหรือลำดับความสำคัญที่เหมาะสมกับสถานการณ์หรือพื้นที่วิกฤตที่จะต้องฟื้นฟูหรือพื้นที่ที่จะต้องป้องกันด้วยเหตุดังกล่าว กรมควบคุมมลพิษ จึงได้ร่วมกับ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 ดำเนินโครงการ “ประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพนํ้าพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา” โดยดำเนินการ (1) ประเมินปริมาณความสกปรกในรูปบีโอดี ไนโตรเจน และฟอสเฟตในลำน้ำสายหลัก รวมทั้งอัตราการไหลของน้ำ (2) สำรวจสภาพทั่วไปของลำคลอง (3) สำรวจและวัดปริมาณน้ำเสียหรือน้ำทิ้งจากชุมชน รวมทั้งตรวจวัดความสกปรก และ (4) วิเคราะห์และเรียบเรียงเป็นแผนฟื้นฟูคุณภาพน้ำ โดยจัดลำดับพื้นที่ที่จะฟื้นฟู และกิจกรรมที่เหมาะสมที่จะดำเนินการ
format Other
author สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
author_facet สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
author_sort สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
title การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา
title_short การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา
title_full การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา
title_fullStr การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา
title_full_unstemmed การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา
title_sort การประเมินความสกปรกเพื่อการฟื้นฟูคุณภาพน้ำพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยคลองอู่ตะเภา
publisher สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15646
_version_ 1703979145006940160