ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา
การวิเคราะห์พฤติกรรมการตอบสนองต่อนโยบายการจับสัตว์น้ำของ ชาวประมงในทะเลสาบสงขลานี้ ได้ออกแบบการศึกษาโดยใช้แนวคิดพื้นฐาน ของการใช้ทรัพยากรร่วมกันและใช้ทฤษฎีเกมเป็นฐานแนวคิด โดยเลือกการ จับกุ้งด้วยไซนั่งเป็นกรณีศึกษา การศึกษาได้สังเกตพฤติกรรมการจับสัตว์น้ำ ภายใต้มาตรการต่างๆ ในสองสถานการณ์คือ เมื่...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Book |
Language: | th_TH |
Published: |
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15894 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15894 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-158942021-05-17T11:51:25Z ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คุณภาพสิ่งแวดล้อม การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ความไม่มั่นคงทางอาหาร การวิเคราะห์พฤติกรรมการตอบสนองต่อนโยบายการจับสัตว์น้ำของ ชาวประมงในทะเลสาบสงขลานี้ ได้ออกแบบการศึกษาโดยใช้แนวคิดพื้นฐาน ของการใช้ทรัพยากรร่วมกันและใช้ทฤษฎีเกมเป็นฐานแนวคิด โดยเลือกการ จับกุ้งด้วยไซนั่งเป็นกรณีศึกษา การศึกษาได้สังเกตพฤติกรรมการจับสัตว์น้ำ ภายใต้มาตรการต่างๆ ในสองสถานการณ์คือ เมื่อทะเลสาบมีปริมาณกุ้ง ในทะเลสาบมากและน้อย โดยปริมาณกุ้งในทะเลสาบจะถูกกำหนดจากระดับ ความเค็มของน้ำซึ่งได้รับอิทธิพลจากฤดูกาล ผลการศึกษาพบว่า มาตรการการให้ชาวประมงร่วมกันจัดการ (Co-management) จะสามารถควบคุมจำนวนการวางไซให้อยู่ในระดับ ที่เหมาะสมได้ดีกว่ากรณีการใช้มาตรการบังคับโดยภาครัฐ (External Regulation) และพบว่าทรัพยากรประมงมีความยั่งยืนมากกว่า นอกจากนี้ยังพบว่าการใช้นโยบายการให้สิทธิการจับสัตว์น้ำที่ต่างกัน จะส่งผลต่อการละเมิดกฎของชาวประมงต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ กล่าวคือ ชาวประมงฝ่าฝืนกฎลดลงเมื่อใช้นโยบายให้สิทธิการจับสัตว์น้ำที่เปลี่ยนมือได้ (Individual Transferable Quotas: ITQs) โดยเปรียบเทียบกับกรณีให้ สิทธิที่ไม่สามารถเปลี่ยนมือได้ (Individual Quotas: IQs) สาเหตุเนื่องจาก นโยบายให้สิทธิที่สามารถเปลี่ยนมือได้ มีความยืดหยุ่นมากกว่าสำหรับ ชาวประมงที่ต้องการเปลี่ยนแปลงจำนวนการวางไซ อย่างไรก็ตามการใช้มาตรการการกำหนดโควตาที่สามารถ เปลี่ยนมือได้นี้ ต้องอยู่ภายใต้การกำหนดบทลงโทษที่เหมาะสม 2015-09-21T08:11:50Z 2021-05-17T11:51:25Z 2015-09-21T08:11:50Z 2021-05-17T11:51:25Z 2557-07 Book http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15894 th_TH application/pdf กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ความไม่มั่นคงทางอาหาร |
spellingShingle |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ความไม่มั่นคงทางอาหาร คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา |
description |
การวิเคราะห์พฤติกรรมการตอบสนองต่อนโยบายการจับสัตว์น้ำของ
ชาวประมงในทะเลสาบสงขลานี้ ได้ออกแบบการศึกษาโดยใช้แนวคิดพื้นฐาน
ของการใช้ทรัพยากรร่วมกันและใช้ทฤษฎีเกมเป็นฐานแนวคิด โดยเลือกการ
จับกุ้งด้วยไซนั่งเป็นกรณีศึกษา การศึกษาได้สังเกตพฤติกรรมการจับสัตว์น้ำ
ภายใต้มาตรการต่างๆ ในสองสถานการณ์คือ เมื่อทะเลสาบมีปริมาณกุ้ง
ในทะเลสาบมากและน้อย โดยปริมาณกุ้งในทะเลสาบจะถูกกำหนดจากระดับ
ความเค็มของน้ำซึ่งได้รับอิทธิพลจากฤดูกาล
ผลการศึกษาพบว่า มาตรการการให้ชาวประมงร่วมกันจัดการ
(Co-management) จะสามารถควบคุมจำนวนการวางไซให้อยู่ในระดับ
ที่เหมาะสมได้ดีกว่ากรณีการใช้มาตรการบังคับโดยภาครัฐ (External
Regulation) และพบว่าทรัพยากรประมงมีความยั่งยืนมากกว่า
นอกจากนี้ยังพบว่าการใช้นโยบายการให้สิทธิการจับสัตว์น้ำที่ต่างกัน
จะส่งผลต่อการละเมิดกฎของชาวประมงต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ กล่าวคือ
ชาวประมงฝ่าฝืนกฎลดลงเมื่อใช้นโยบายให้สิทธิการจับสัตว์น้ำที่เปลี่ยนมือได้
(Individual Transferable Quotas: ITQs) โดยเปรียบเทียบกับกรณีให้
สิทธิที่ไม่สามารถเปลี่ยนมือได้ (Individual Quotas: IQs) สาเหตุเนื่องจาก
นโยบายให้สิทธิที่สามารถเปลี่ยนมือได้ มีความยืดหยุ่นมากกว่าสำหรับ
ชาวประมงที่ต้องการเปลี่ยนแปลงจำนวนการวางไซ
อย่างไรก็ตามการใช้มาตรการการกำหนดโควตาที่สามารถ
เปลี่ยนมือได้นี้ ต้องอยู่ภายใต้การกำหนดบทลงโทษที่เหมาะสม |
format |
Book |
author |
คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
author_facet |
คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
author_sort |
คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
title |
ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา |
title_short |
ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา |
title_full |
ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา |
title_fullStr |
ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา |
title_full_unstemmed |
ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา |
title_sort |
ทำ ประมงอย่างไรให้ยั่งยืน กรณีศึกษาทะเลสาบสงขลา |
publisher |
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15894 |
_version_ |
1703979344861331456 |