โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง

รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอผลการติดตามและประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546-2557 ตามกรอบยุทธศาสตร์แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา รวมถึงการเสนอแนะรูปแบบและโครงสร้างองค์กร และ/หรือกลไกการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสถานการณ์ทร...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16943
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-16943
record_format dspace
spelling th-psu.2016-169432021-05-17T13:43:31Z โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณภาพสิ่งแวดล้อม การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ภัยพิบัติ น้ำท่วม ดินถล่ม ความไม่มั่นคงทางอาหาร การกัดเซาะชายฝั่งทะเล การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์ รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอผลการติดตามและประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546-2557 ตามกรอบยุทธศาสตร์แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา รวมถึงการเสนอแนะรูปแบบและโครงสร้างองค์กร และ/หรือกลไกการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาในปัจจุบันที่ยังเผชิญกับสภาวะวิกฤติ ทั้งการลดลงของชนิดและความหลากหลายทางชีวภาพ ความเสื่อมโทรมทรัพยากรธรรมชาติและปัญหามลพิษ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการทบทวนและประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาที่ผ่านมา เพื่อวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้การแก้ไขปัญหาในพื้นที่ลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาไม่เกิดประสิทธิผลเท่าที่ควร โดยการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาได้ใช้กรอบแนวคิด CIPP Model เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์แผนงานโครงการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาที่ผ่านมาในแต่ละยุทธศาสตร์ ให้ทราบข้อเท็จจริงถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน รวมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขแนวทางการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2015-10-06T09:12:31Z 2021-05-17T13:43:31Z 2015-10-06T09:12:31Z 2021-05-17T13:43:31Z 2557 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16943 th_TH application/octet-stream สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic คุณภาพสิ่งแวดล้อม
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
ภัยพิบัติ น้ำท่วม ดินถล่ม
ความไม่มั่นคงทางอาหาร
การกัดเซาะชายฝั่งทะเล
การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์
spellingShingle คุณภาพสิ่งแวดล้อม
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
ภัยพิบัติ น้ำท่วม ดินถล่ม
ความไม่มั่นคงทางอาหาร
การกัดเซาะชายฝั่งทะเล
การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง
description รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอผลการติดตามและประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2546-2557 ตามกรอบยุทธศาสตร์แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา รวมถึงการเสนอแนะรูปแบบและโครงสร้างองค์กร และ/หรือกลไกการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากสถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาในปัจจุบันที่ยังเผชิญกับสภาวะวิกฤติ ทั้งการลดลงของชนิดและความหลากหลายทางชีวภาพ ความเสื่อมโทรมทรัพยากรธรรมชาติและปัญหามลพิษ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการทบทวนและประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาที่ผ่านมา เพื่อวิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้การแก้ไขปัญหาในพื้นที่ลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาไม่เกิดประสิทธิผลเท่าที่ควร โดยการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาได้ใช้กรอบแนวคิด CIPP Model เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์แผนงานโครงการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาที่ผ่านมาในแต่ละยุทธศาสตร์ ให้ทราบข้อเท็จจริงถึงปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน รวมทั้งจัดทำข้อเสนอแนะการปรับปรุงแก้ไขแนวทางการพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลาให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
format Other
author สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
author_facet สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
author_sort สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
title โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง
title_short โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง
title_full โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง
title_fullStr โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง
title_full_unstemmed โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง
title_sort โครงการติดตามประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาและการจัดทำแผนอนุรักษ์ ฟื้นฟูและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อยและป่าพรุควนเคร็ง
publisher สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/16943
_version_ 1703979502880686080