การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D
ในการศึกษานี้ ได้ทำการพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วม ในพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 102 ชุมชนของเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งมีคลองหลัก 2 คลองคือ คลองอู่ตะเภาและคลองระบายน้ำ ร.1 ทำหน้าที่ระบายน้ำที่ผ่านตัวเมืองลงสู่ทะเลสาบสงขลาที่แหลมโพธิ์ ด้วยความสามารถของ HEC-RAS 2D ที่สามารถทำการจำลองการไหลแบบหนึ่งมิติร่วมกับสองมิติ...
Saved in:
Main Authors: | , , , |
---|---|
Format: | Other |
Language: | th_TH |
Published: |
สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2016
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17007 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-17007 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-170072021-05-17T15:13:22Z การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ อดุลย์ เบ็ญนุ้ย พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย ภูมิสารสนเทศ ในการศึกษานี้ ได้ทำการพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วม ในพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 102 ชุมชนของเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งมีคลองหลัก 2 คลองคือ คลองอู่ตะเภาและคลองระบายน้ำ ร.1 ทำหน้าที่ระบายน้ำที่ผ่านตัวเมืองลงสู่ทะเลสาบสงขลาที่แหลมโพธิ์ ด้วยความสามารถของ HEC-RAS 2D ที่สามารถทำการจำลองการไหลแบบหนึ่งมิติร่วมกับสองมิติได้ จึงได้จำลองให้การไหลในคลองทั้งสองเป็นแบบหนึ่งมิติ และส่วนที่ล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ชุมชนเป็นการไหลแบบสองมิติ การปรับเทียบแบบจำลองการไหลหนึ่งมิติในคลองอู่ตะเภาได้ใช้วิธีการแปรค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระ (Manning’s n Value) ของทางน้ำ โดยจำลองการไหลของน้ำเป็นแบบไม่คงที่ จากสถานีวัดระดับน้ำ X.44 บ้านหาดใหญ่ใน จนถึงสถานีวัดระดับน้ำ X.181 บ้านหาร ผลการปรับเทียบพบว่า เมื่อปริมาณน้ำมากกว่า 200 ลบ.ม.ต่อวินาที ค่า n ที่ 0.020 จะทำให้ได้ค่าความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำและระดับน้ำที่สอดคล้องกับ Rating Curve ของสถานีวัดระดับน้ำ X.181 เมื่อปริมาณน้ำมากจนทำให้น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ชุมชน ได้ทำการจำลองการไหลเป็นแบบสองมิติ ในการศึกษานี้ ได้ทำการจำลองการเกิดน้ำท่วมใหญ่ ในช่วงวันที่ 1-3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดยใช้ปริมาณน้ำท่าที่สถานีวัดระดับน้ำ X.44 ผลจากการจำลองพบว่าเกิดน้ำท่วมในพื้นที่จำนวน 88 ชุมชนจากทั้งหมด 102 ชุมชน และได้ทำการเปรียบเทียบความแม่นยำของแบบจำลอง กับแผนที่ระดับน้ำท่วมสูงสุดที่ได้ทำการสำรวจก่อนหน้านี้ พบว่าค่าเฉลี่ยของความแตกต่างระหว่างความลึกสูงสุดในแต่ละชุมชนจากแบบจำลองและแผนที่ มีค่าเท่ากับ 61 เซนติเมตร 2016-01-19T09:03:54Z 2021-05-17T15:13:22Z 2016-01-19T09:03:54Z 2021-05-17T15:13:22Z 2558 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17007 th_TH application/pdf สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
ภูมิสารสนเทศ |
spellingShingle |
ภูมิสารสนเทศ ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ อดุลย์ เบ็ญนุ้ย พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D |
description |
ในการศึกษานี้ ได้ทำการพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วม ในพื้นที่ชุมชนทั้งหมด 102 ชุมชนของเทศบาลนครหาดใหญ่ ซึ่งมีคลองหลัก 2 คลองคือ คลองอู่ตะเภาและคลองระบายน้ำ ร.1 ทำหน้าที่ระบายน้ำที่ผ่านตัวเมืองลงสู่ทะเลสาบสงขลาที่แหลมโพธิ์ ด้วยความสามารถของ HEC-RAS 2D ที่สามารถทำการจำลองการไหลแบบหนึ่งมิติร่วมกับสองมิติได้ จึงได้จำลองให้การไหลในคลองทั้งสองเป็นแบบหนึ่งมิติ และส่วนที่ล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ชุมชนเป็นการไหลแบบสองมิติ การปรับเทียบแบบจำลองการไหลหนึ่งมิติในคลองอู่ตะเภาได้ใช้วิธีการแปรค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระ (Manning’s n Value) ของทางน้ำ โดยจำลองการไหลของน้ำเป็นแบบไม่คงที่ จากสถานีวัดระดับน้ำ X.44 บ้านหาดใหญ่ใน จนถึงสถานีวัดระดับน้ำ X.181 บ้านหาร ผลการปรับเทียบพบว่า เมื่อปริมาณน้ำมากกว่า 200 ลบ.ม.ต่อวินาที ค่า n ที่ 0.020 จะทำให้ได้ค่าความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำและระดับน้ำที่สอดคล้องกับ Rating Curve ของสถานีวัดระดับน้ำ X.181
เมื่อปริมาณน้ำมากจนทำให้น้ำล้นตลิ่งเข้าท่วมพื้นที่ชุมชน ได้ทำการจำลองการไหลเป็นแบบสองมิติ ในการศึกษานี้ ได้ทำการจำลองการเกิดน้ำท่วมใหญ่ ในช่วงวันที่ 1-3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดยใช้ปริมาณน้ำท่าที่สถานีวัดระดับน้ำ X.44 ผลจากการจำลองพบว่าเกิดน้ำท่วมในพื้นที่จำนวน 88 ชุมชนจากทั้งหมด 102 ชุมชน และได้ทำการเปรียบเทียบความแม่นยำของแบบจำลอง กับแผนที่ระดับน้ำท่วมสูงสุดที่ได้ทำการสำรวจก่อนหน้านี้ พบว่าค่าเฉลี่ยของความแตกต่างระหว่างความลึกสูงสุดในแต่ละชุมชนจากแบบจำลองและแผนที่ มีค่าเท่ากับ 61 เซนติเมตร |
format |
Other |
author |
ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ อดุลย์ เบ็ญนุ้ย พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย |
author_facet |
ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล ธิรดา ยงสถิตศักดิ์ อดุลย์ เบ็ญนุ้ย พีระพิทย์ พืชมงคล ยงเฉลิมชัย |
author_sort |
ศักดิ์ชัย ปรีชาวีรกุล |
title |
การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D |
title_short |
การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D |
title_full |
การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D |
title_fullStr |
การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D |
title_full_unstemmed |
การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ HEC-RAS 2D |
title_sort |
การพัฒนาแบบจำลองการเกิดน้ำท่วมในชุมชนเมืองหาดใหญ่ โดยใช้ hec-ras 2d |
publisher |
สถานวิจัยสารสนเทศภูมิศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ภูมิภาคเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (ภาคใต้) คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2016 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17007 |
_version_ |
1703979081792487424 |