คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อารุจี ศักดิ์สวัสดิ์
Other Authors: บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2021
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17217
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-17217
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic คุณภาพการบริการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
spellingShingle คุณภาพการบริการ
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
อารุจี ศักดิ์สวัสดิ์
คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
description รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563
author2 บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ
author_facet บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ
อารุจี ศักดิ์สวัสดิ์
format Theses and Dissertations
author อารุจี ศักดิ์สวัสดิ์
author_sort อารุจี ศักดิ์สวัสดิ์
title คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
title_short คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
title_full คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
title_fullStr คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
title_full_unstemmed คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
title_sort คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2021
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17217
_version_ 1709756012559335424
spelling th-psu.2016-172172021-08-04T04:22:36Z คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความ ไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี Service Quality of Village Health Volunteers in Unrest Areas : A Case Study of KhokPho Subdistrict, KhokPho District, Pattani Province อารุจี ศักดิ์สวัสดิ์ บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คุณภาพการบริการ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2563 This quantitative study aimed to investigate the service quality and the relationship between personal factors of service users and service quality of Village Health Volunteers in unrest areas : A Case study of Khokpho Subdistrict, Khokpho District, Pattani Province. The sample size used in the research was 342 people who received services from the village health volunteers (VHV) in Khokpho Subdistrict, Khokpho District, Pattani Province. The research instrument used was a questionnaire. The data obtained were analyzed by using descriptive statistics : Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and Inferential statistics : comparison of the single group mean (Independent Samples t-test) Analysis of variance One-Way. Anova). The paired mean was compared using Lest Significant Difference (LSD) at a significant level of 0.05. The findings revealed that the quality of service of VHV required consisted of 5 factors : physical appearance, reliability and trust, response, confidence building and care which the overall quality was at a high level. Meanwhile, the personal factors consisted of education levels, incomes and knowledge of basic public health which had an impact on the different service quality of VHV. When considering in details, it was found that education levels affected different responses. Income levels affected physical appearance, reliability and trust, confidence building and the different aspects of care. Knowledge of basic health affected physical appearance, reliability and trust, response, confidence building and the different aspects of care การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และความคิดเห็นของประชาชนผู้รับบริการที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันต่อคุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่สถานการณ์ความไม่สงบ : กรณีศึกษาประชาชนในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอ โคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม ขนาดของกลุ่มตัวอย่างในงานวิจัย คือ ประชาชนผู้ที่รับบริการจากอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่ตาบลโคกโพธิ์ อาเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จานวน 342 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานประกอบด้วย การเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยกลุ่มเดียว (Independent Samples t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) ทาการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่โดยใช้ Lest Significant Difference (LSD) ที่ระดับนัยสาคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ทั้ง 5 ด้าน ด้านรูปลักษณ์ทางกายภาพที่สัมผัสได้ ด้านความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ ด้านการตอบสนอง ด้านการสร้างความมั่นใจและด้านการดูแลเอาใจใส่อยู่ในระดับสูงทุกด้าน ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย ระดับการศึกษา ระดับรายได้ ความรอบรู้เกี่ยวกับสาธารณสุขพื้นฐานมีผลต่อคุณภาพการให้บริการของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณาในรายละเอียดพบว่า ระดับการศึกษามีผลต่อด้านการตอบสนองแตกต่างกัน ระดับรายได้มีผลต่อด้านรูปลักษณ์ทางกายภาพที่สัมผัสได้ ด้านความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ ด้านการสร้างความมั่นใจแตกต่างกัน ความรอบรู้เกี่ยวกับสาธารณสุขพื้นฐานมีผลต่อด้านรูปลักษณ์ทางกายภาพที่สัมผัสได้ ด้านความน่าเชื่อถือและไว้วางใจ ด้านการตอบสนอง ด้านการสร้างความมั่นใจ ด้านการดูแลเอาใจใส่แตกต่างกัน สาหรับข้อเสนอแนะคือให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาปรับปรุงการจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ์ที่ทันสมัยให้เพียงพอต่อการให้บริการประชาชน และมีการประชาสัมพันธ์เปิดพื้นที่ให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทาแผนพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ไปพร้อมกับการจัดทาแผนการฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับงานสาธารณสุขพื้นฐานให้กับประชาชนเพื่อให้แผนการพัฒนาสอดคล้องและต่อเนื่องเป็นไปตามความต้องการของประชาชนในพื้นที่มากที่สุด 2021-08-04T04:20:38Z 2021-08-04T04:20:38Z 2563 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17217 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์