การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2564
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2021
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17314 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-17314 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
Active Learning Google Classroom Core Competencies แอพลิเคชัน |
spellingShingle |
Active Learning Google Classroom Core Competencies แอพลิเคชัน กวิสรา อับดุลลาติฟ การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี |
description |
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2564 |
author2 |
สูรีนา มะตาหยง |
author_facet |
สูรีนา มะตาหยง กวิสรา อับดุลลาติฟ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
กวิสรา อับดุลลาติฟ |
author_sort |
กวิสรา อับดุลลาติฟ |
title |
การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี |
title_short |
การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี |
title_full |
การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี |
title_fullStr |
การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี |
title_full_unstemmed |
การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี |
title_sort |
การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2021 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17314 |
_version_ |
1735499251515916288 |
spelling |
th-psu.2016-173142021-10-28T03:30:02Z การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก สำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี The Addition of Active Learning Applications for Google Classroom to Increase the Efficiency of the Core Competencies for Vocational Students: A Case Study of Pattani Industrial and Community Education College กวิสรา อับดุลลาติฟ สูรีนา มะตาหยง Faculty of Engineering Management of Information Technology Active Learning Google Classroom Core Competencies แอพลิเคชัน วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ), 2564 The objectives of this experimental research were 1) to develop active learning applications for google classroom in improving the core competency of vocational students 2) to measure and assess the performance of the core competency of students who used the applications. The experiment applied a quota-based sample selection method. The tools used for data collection were a test and a core competency assessment form. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation, Index of Item Objective Congruence (IOC), sample t-test (Difference Score). From the development for google classroom in improving the core competency of vocational students, it was found that the learning achievement of the control group was 12.95 points, the standard deviation was 1.66, the experimental group was 18.76 points, and the standard deviation was 0.77 out of 20 points. The result of t value was 14.57 and the Sig. value = 0.006 was less than the statistical significance level of 0.05. statistically significantly higher than the learners in the control group at the 0.05 level. The result of core competency assessment was 91.24 %, which was very good. When considering each aspects, it is found that the skills of collaboration and teamwork, had the highest percentage to 97.14 %, followed by creativity 90.48% and critical thinking and problem solving, communications, and computing & ICT literacy is 89.52 % respectively. งานวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุกสำหรับกูเกิลคลาสรูม ในการเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา 2) เพื่อวัดและประเมินประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุกสำหรับกูเกิลคลาสรูม ใช้วิธีการคัดเลือกแบบกำหนดโควตาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบทดสอบ แบบประเมินผลสมรรถนะหลัก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) การทดสอบค่าที (t-test) แบบ Independent Sample (Difference Score) จากการพัฒนาเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุกสำหรับกูเกิลคลาสรูมในการเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษา พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.95 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.66 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 18.76 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.77 และ เมื่อทดสอบค่า t ในตารางพบว่า มีค่าเท่ากับ 14.57 และค่า Sig. = 0.006 น้อยกว่าระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 จึงสรุปว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มทดลอง สูงกว่าผู้เรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการประเมินสมรรถนะระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้การเสริมแอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุก พบว่าภาพรวมของการประเมินสมรรถนะหลักการจัดการเรียนรู้โดยใช้แอปพลิเคชันการเรียนการสอนเชิงรุกสำหรับกูเกิลคลาสรูมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านสมรรถนะหลักของนักศึกษาอาชีวศึกษาเกณฑ์อยู่ในระดับดีมาก มีค่าร้อยละเท่ากับ 91.24 เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าทักษะด้านความร่วมมือและการทำงานเป็นทีม (Collaboration and teamwork) มีค่าร้อยละมากที่สุดเท่ากับ 97.14 รองลงมาทักษะด้านการสร้างสรรค์ (Creativity) มีค่าร้อยละเท่ากับ 90.48 และทักษะในการแก้ปัญหา(Critical thinking and problem solving) ทักษะด้านการสื่อสาร (Communications) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing & ICT literacy) ด้วยซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพื่อการเข้าถึงและเผยแพร่ข้อมูลได้ มีค่าร้อยละเท่ากับ 89.52 ตามลำดับ 2021-10-28T03:28:47Z 2021-10-28T03:28:47Z 2021 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/17314 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |